|
|
|
เศรษฐศาสตร์ทั่วไป |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(General Economic) |
หนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยเนื้อหา 2 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นการศึกษาพื้นฐานเศรษฐศาสตร์จุลภาค บทที่ 1 4 เขียนโดยรองศาสตราจารย์สุกัญญา ตันธนวัฒน์ บทที่ 5 8 เขียนโดย รองศาสตราจารย์อสัมภินพงศ์ ฉัตราคม ส่วนที่ 2 เป็นการศึกษาพื้นฐานเศรษฐศาสตร์มหภาค บทที่ 9 11 เขียนโดยรองศาสตราจารย์วรณี จิเจริญ บทที่ 12 14 เขียนโดยรองศาสตราจารย์อติ ไทยานันท์
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ทั่วไป |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(General Economic) |
หนังสือเล่มนี้ประกอบด้วยเนื้อหา 2 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นการศึกษาพื้นฐานเศรษฐศาสตร์จุลภาค บทที่ 1 4 เขียนโดยรองศาสตราจารย์สุกัญญา ตันธนวัฒน์ บทที่ 5 8 เขียนโดย รองศาสตราจารย์อสัมภินพงศ์ ฉัตราคม ส่วนที่ 2 เป็นการศึกษาพื้นฐานเศรษฐศาสตร์มหภาค บทที่ 9 11 เขียนโดยรองศาสตราจารย์วรณี จิเจริญ บทที่ 12 14 เขียนโดยรองศาสตราจารย์อติ ไทยานันท์
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Microeconomics 1) |
เนื้อหาสาระของวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาคโดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ
คือ ส่วนที่หนึ่งเกี่ยวกับบทบาทของหน่วยครัวเรือนในฐานะผู้บริโภค เจ้าของปัจจัยการผลิต จะ
ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น พฤติกรรมผู้บริโภค และการเสนอขายปัจจัยการ
ผลิต ส่วนที่สองเกี่ยวกับบทบาทของหน่วยธุรกิจ ในฐานะของผู้รวบรวมปัจจัยการผลิตต่างๆ นำมา
ผลิตสินค้าและ ศึกษาเกี่ยวกับ ทฤษฎีการผลิต ต้นทุน รายรับ กำไร และตลาดแข่งขันสมบูรณ์
แข่งขันไม่สมบูรณ์ เป็นต้น
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Microeconomics 1) |
เนื้อหาสาระของวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาคโดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ
คือ ส่วนที่หนึ่งเกี่ยวกับบทบาทของหน่วยครัวเรือนในฐานะผู้บริโภค เจ้าของปัจจัยการผลิต จะ
ศึกษาเกี่ยวกับเรื่องอุปสงค์ อุปทาน ความยืดหยุ่น พฤติกรรมผู้บริโภค และการเสนอขายปัจจัยการ
ผลิต ส่วนที่สองเกี่ยวกับบทบาทของหน่วยธุรกิจ ในฐานะของผู้รวบรวมปัจจัยการผลิตต่างๆ นำมา
ผลิตสินค้าและ ศึกษาเกี่ยวกับ ทฤษฎีการผลิต ต้นทุน รายรับ กำไร และตลาดแข่งขันสมบูรณ์
แข่งขันไม่สมบูรณ์ เป็นต้น
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์จุลภาค1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์จุลภาค1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์มหภาค 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Macroeconomics 1) |
ศึกษาถึงรายได้ส่วนบุคคลกับรายได้ประชาชาติ การบริโภค การออก การลงทุน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ความเจริญทางเศรษฐกิจ การค้าระหว่างประเทศ ระบบการเงินและธนาคาร การให้สินเชื่อ เงินเฟ้อและเงินฝืด การคลัง นโยบายการเงิน ระบบเศรษฐกิจ หนี้สาธารณะ การมีงานทำและการว่าง การทำงานเต็มอัตรา |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์มหภาค 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Macroeconomics 1) |
ศึกษาถึงรายได้ส่วนบุคคลกับรายได้ประชาชาติ การบริโภค การออก การลงทุน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ความเจริญทางเศรษฐกิจ การค้าระหว่างประเทศ ระบบการเงินและธนาคาร การให้สินเชื่อ เงินเฟ้อและเงินฝืด การคลัง นโยบายการเงิน ระบบเศรษฐกิจ หนี้สาธารณะ การมีงานทำและการว่าง การทำงานเต็มอัตรา |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์มหภาค1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์มหภาค1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์มหภาค1 |
- |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์มหภาค1 |
- |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Microeconomics 2) |
ศึกษาโดยละเอียดในทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค วิเคราะห์แบบนับหน่วย (Cardinal Approach) และวิเคราะห์แบบเรียงลำดับ (Ordinal Approach) หลักดีมานด์และซัพพลาย ทฤษฎีการผลิต หลักการผสมปัจจัยการผลิดที่เสียต้นทุนต่ำที่สุด หลักการเลือกผลผลิตร่วม (Joint Product) ทฤษฎีต้นทุน ลักษณะโรงสร้างของตลาดประเภทต่าง ๆ การตั้งราคาและเงื่อนไขในตลาดต่าง ๆ หลักการซื้อปัจจัยในตลาดปัจจัย รวมทั้งด้านวิภาคกรรม (Distribution) |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Microeconomics 2) |
ศึกษาโดยละเอียดในทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค วิเคราะห์แบบนับหน่วย (Cardinal Approach) และวิเคราะห์แบบเรียงลำดับ (Ordinal Approach) หลักดีมานด์และซัพพลาย ทฤษฎีการผลิต หลักการผสมปัจจัยการผลิดที่เสียต้นทุนต่ำที่สุด หลักการเลือกผลผลิตร่วม (Joint Product) ทฤษฎีต้นทุน ลักษณะโรงสร้างของตลาดประเภทต่าง ๆ การตั้งราคาและเงื่อนไขในตลาดต่าง ๆ หลักการซื้อปัจจัยในตลาดปัจจัย รวมทั้งด้านวิภาคกรรม (Distribution) |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economic History) |
ศึกษาในแง่ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสถาบันทางเศรษฐกิจตั้งแต่ยุโรปสมัยกลาง การเปลี่ยนแปลงจากระบบฟิวดัลมาเป็นระบบนายทุนในยุโรป เหตุที่เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและการปฏิวัติอุตสาหกรรมในอังกฤษและยุโรปในศตวรรษที่ 18 และ 19 การพัฒนาทางการเกษตรอุตสาหกรรม การค้า และการขนส่งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป รัศเซีย และญี่ปุ่น |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economic History) |
ศึกษาในแง่ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของสถาบันทางเศรษฐกิจตั้งแต่ยุโรปสมัยกลาง การเปลี่ยนแปลงจากระบบฟิวดัลมาเป็นระบบนายทุนในยุโรป เหตุที่เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและการปฏิวัติอุตสาหกรรมในอังกฤษและยุโรปในศตวรรษที่ 18 และ 19 การพัฒนาทางการเกษตรอุตสาหกรรม การค้า และการขนส่งในสหรัฐอเมริกา ยุโรป รัศเซีย และญี่ปุ่น |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
ประวัติลัทธิเศรษฐกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(History of Economic Thought) |
ศึกษาแนวความคิดของนักปราชญ์ทางเศรษฐศาสตร์สมัยโบราณ สมัยพาณิชย์นิยม ฟิชิโอแครตส์ แนวคิดของสมิธ มัลธัส ริคาร์โด มาร์ค มาร์แชล เคนส์ ฯลฯ และพัฒนาการมาเป็นเศรษฐศาสตร์ในปัจจุบัน |
|
|
|
|
ประวัติลัทธิเศรษฐกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(History of Economic Thought) |
ศึกษาแนวความคิดของนักปราชญ์ทางเศรษฐศาสตร์สมัยโบราณ สมัยพาณิชย์นิยม ฟิชิโอแครตส์ แนวคิดของสมิธ มัลธัส ริคาร์โด มาร์ค มาร์แชล เคนส์ ฯลฯ และพัฒนาการมาเป็นเศรษฐศาสตร์ในปัจจุบัน |
|
|
|
|
ประวัติลัทธิเศรษฐกิจก่อนบุคคลาสสิกส์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Pre-Classical History of Economics Thoughts) |
|
|
|
|
|
ประวัติลัทธิเศรษฐกิจก่อนบุคคลาสสิกส์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Pre-Classical History of Economics Thoughts) |
|
|
|
|
|
ประวัติลัทธิเศรษฐกิจ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Hand Book History of Economics Thought) |
- |
|
|
|
|
ประวัติลัทธิเศรษฐกิจ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Hand Book History of Economics Thought) |
- |
|
|
|
|
คณิตศาสตร์สำหรับนักเศรษฐศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Mathematics for Economists) |
ศึกษาถึงความสามารถในการใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ Matrix and Linear Algebra, Differential and Integral Calculus, Xaxima and Minima และ Introduction to Linear Programming ที่ใช้วิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ทั้งด้านเศรษฐศาสตร์จุลภาค และเศรษฐศาสตร์มหภาคพื้นฐาน |
|
|
|
|
คณิตศาสตร์สำหรับนักเศรษฐศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Mathematics for Economists) |
ศึกษาถึงความสามารถในการใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์ อันได้แก่ Matrix and Linear Algebra, Differential and Integral Calculus, Xaxima and Minima และ Introduction to Linear Programming ที่ใช้วิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ ทั้งด้านเศรษฐศาสตร์จุลภาค และเศรษฐศาสตร์มหภาคพื้นฐาน |
|
|
|
|
สถิติสำหรับนักเศรษฐศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Statistics for Economicsts) |
ศึกษาถึงการประยุกต์เครื่องมือทางสถิติกับทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ โดยศึกษาถึงการวิเคราะห์สมการถดถอยเส้นตรงแบบธรรมดาและเชิงซ้อน การวิเคราะห์สมการถดถอยที่ไม่ใช่เส้นตรง การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ อนุกรมเวลา ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐมิติและเลขดัชนี |
|
|
|
|
สถิติสำหรับนักเศรษฐศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Statistics for Economicsts) |
ศึกษาถึงการประยุกต์เครื่องมือทางสถิติกับทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ โดยศึกษาถึงการวิเคราะห์สมการถดถอยเส้นตรงแบบธรรมดาและเชิงซ้อน การวิเคราะห์สมการถดถอยที่ไม่ใช่เส้นตรง การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ อนุกรมเวลา ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐมิติและเลขดัชนี |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและภูมิศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Natural Resource Economics and Geography) |
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและภูมิศาสตร์ |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและภูมิศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Natural Resource Economics and Geography) |
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติและภูมิศาสตร์ |
|
|
|
|
โครงสร้างระบบเศรษฐกิจไทยในอนาคต |
- |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
โครงสร้างระบบเศรษฐกิจไทยในอนาคต |
- |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Human Resuuroe Eoonomics 1) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Human Resuuroe Eoonomics 1) |
- |
|
|
|
|
เศรษญศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(human resource economics 1) |
ศึกษา เศรษญศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ |
|
|
|
|
เศรษญศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(human resource economics 1) |
ศึกษา เศรษญศาสตร์ทรัพยากรมนุษย์ |
|
|
|
|
ค่าจ้างและทฤษฎีค่าจ้าง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Wage and Wage Theories) |
ศึกษาทั้งเชิงทฤษฎีและเชิงสถาบันเกี่ยวกับทฤษีค่าจ้างและโครงสร้างค่าจ้าง หลักเบื้องต้นในการวิเคราะห์ภาคสนามเรื่องโครงสร้างค่าจ้างในตลาดแรงงานต่าง ๆ ศึกษาเฉพาะกรณีของประเทศไทย |
|
|
|
|
ค่าจ้างและทฤษฎีค่าจ้าง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Wage and Wage Theories) |
ศึกษาทั้งเชิงทฤษฎีและเชิงสถาบันเกี่ยวกับทฤษีค่าจ้างและโครงสร้างค่าจ้าง หลักเบื้องต้นในการวิเคราะห์ภาคสนามเรื่องโครงสร้างค่าจ้างในตลาดแรงงานต่าง ๆ ศึกษาเฉพาะกรณีของประเทศไทย |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การคุ้มครองแรงงานและแรงงานสัมพันธ์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Labor Protectionand Labor Relations) |
ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับแรงงานสัมพันธ์ การเจรจาต่อรอง และการคุ้มครองแรงงานตลอดจนวิเคราะห์กฎหมายแรงงานในเชิงเศรษฐศาสตร์ ศึกษากรณีเฉพาะของปัญหาการคุ้มครองแรงงานสตรีและแรงงานเด็ก รวมทั้งปัญหาของการแรงงานสัมพันธ์และการเจรจาต่อรองร่วมในประเทศไทย |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การคุ้มครองแรงงานและแรงงานสัมพันธ์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Labor Protectionand Labor Relations) |
ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับแรงงานสัมพันธ์ การเจรจาต่อรอง และการคุ้มครองแรงงานตลอดจนวิเคราะห์กฎหมายแรงงานในเชิงเศรษฐศาสตร์ ศึกษากรณีเฉพาะของปัญหาการคุ้มครองแรงงานสตรีและแรงงานเด็ก รวมทั้งปัญหาของการแรงงานสัมพันธ์และการเจรจาต่อรองร่วมในประเทศไทย |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การคุ้มครองแรงงานและแรงงานสัมพันธ์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(economics of labor protection and labor relations) |
ศึกษา ศึกษาวิวัฒนาการของระบบปรงงานสัมพันธ์และทั่วๆไป |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การคุ้มครองแรงงานและแรงงานสัมพันธ์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(economics of labor protection and labor relations) |
ศึกษา ศึกษาวิวัฒนาการของระบบปรงงานสัมพันธ์และทั่วๆไป |
|
|
|
|
คู่มือการวิเคราะห์ตลาดแรงงาน |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Labor Market Analysis) |
- |
|
|
|
|
คู่มือการวิเคราะห์ตลาดแรงงาน |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Labor Market Analysis) |
- |
|
|
|
|
การวิเคราะห์ตลาดแรงงาน |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Labor Market Analysis) |
- |
|
|
|
|
การวิเคราะห์ตลาดแรงงาน |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Labor Market Analysis) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์จุลภาค3 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(MICROECONOMICS3) |
หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นหนังสือประกอบการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาคระดับกลาง ผู้ใช้ตำราเล่มนี้ควรมีความรู้ในเศรษฐศาสตร์จุลภาคพื้นฐานมาก่อน และควรมีพื้นฐานทางคณิตศาสตร์มาบ้างเพื่อได้เข้าใจในส่วนของทฤษฎีที่ใช้คณิตศาสตร์มาวิเคราะห์ โดยที่หนังสือเล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มในรายละเอียดของเรื่องที่ได้วางพื้นฐานไว้แล้วในเศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 และเศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 เพื่อให้ความรู้ในเรื่องต่าง ๆ มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์จุลภาค3 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(MICROECONOMICS3) |
หนังสือเล่มนี้เขียนขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้เป็นหนังสือประกอบการเรียนวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาคระดับกลาง ผู้ใช้ตำราเล่มนี้ควรมีความรู้ในเศรษฐศาสตร์จุลภาคพื้นฐานมาก่อน และควรมีพื้นฐานทางคณิตศาสตร์มาบ้างเพื่อได้เข้าใจในส่วนของทฤษฎีที่ใช้คณิตศาสตร์มาวิเคราะห์ โดยที่หนังสือเล่มนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มในรายละเอียดของเรื่องที่ได้วางพื้นฐานไว้แล้วในเศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 และเศรษฐศาสตร์จุลภาค 2 เพื่อให้ความรู้ในเรื่องต่าง ๆ มีความสมบูรณ์ยิ่งขึ้น |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์มหภาค 3 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Macroeconomics 3) |
ศึกษาวิเคราะห์ดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจอย่างสมบูรณ์ (A Complete Macroeconomics Equilibrium) เน้นส่วนประกอบของส่นผลผลิต (Product Sector) เงินตรา (Money Sector) และส่วนแรงงาน (Labor Sector) เน้นเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิค สำนักเคนส์ เปรียบเทียบเคนส์และคลาสสิค ปรับปรุงตลอดทั้งแนวคิดแขนงสำนักต่าง ๆ เช่น ชิคาโก วิเคราะห์ความผันผวนของรายได้ประชาชาติ ภาวะเงินเฟ้อ สาเหตุด้านต่าง ๆ ที่มีผลต่อระบบเศรษฐกิจทั้งระบบ เน้นนโยบายเครื่องมือแก้ไข เน้นโดยละเอียดถึงความจำเริญทางเศรษฐกิจและการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Stabilization) |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์มหภาค 3 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Macroeconomics 3) |
ศึกษาวิเคราะห์ดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจอย่างสมบูรณ์ (A Complete Macroeconomics Equilibrium) เน้นส่วนประกอบของส่นผลผลิต (Product Sector) เงินตรา (Money Sector) และส่วนแรงงาน (Labor Sector) เน้นเศรษฐศาสตร์สำนักคลาสสิค สำนักเคนส์ เปรียบเทียบเคนส์และคลาสสิค ปรับปรุงตลอดทั้งแนวคิดแขนงสำนักต่าง ๆ เช่น ชิคาโก วิเคราะห์ความผันผวนของรายได้ประชาชาติ ภาวะเงินเฟ้อ สาเหตุด้านต่าง ๆ ที่มีผลต่อระบบเศรษฐกิจทั้งระบบ เน้นนโยบายเครื่องมือแก้ไข เน้นโดยละเอียดถึงความจำเริญทางเศรษฐกิจและการรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Stabilization) |
|
|
|
|
|
|
|
(Theory of Inflation) |
PR : EC 211 , EC 212
ศึกษาทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับเงินเฟ้อ โดยนำเอาเครื่องมือทางด้านเศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาคมาใช้อธิบาย เนื้อหาที่สำคัญของวิชาน้ะเน้นศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเงินเฟ้อและอัตราดอกบี้ย สมการปริมาณเงิน การวิเคราะห์เส้นฟิลิปส์การวิเคราะห์เงินเฟ้อด้านอุปสงค์ แบบจำลองเงินเฟ้อ ว่าด้วยการบวกกำไรในราคาสินค้า (Mark-up inflation Model) แบบจำลองเงินเฟ้อว่าด้วยการคาดคะเน (Expectational Model)แบบจำลองเงินเฟ้อว่าด้วยผู้นำด้านค่าจ้าง (Wage Leadership Model) แบบจำลองเงินเฟ้อของนักเศรษฐศาสตร์การเงิน (Monetarist Model) แบบจำลองเงินเฟ้อด้านโครงสร้าง (Structural Model) และนโยบายลดภาวะเงินเฟ้อ
|
|
|
|
|
|
|
|
(Theory of Inflation) |
PR : EC 211 , EC 212
ศึกษาทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับเงินเฟ้อ โดยนำเอาเครื่องมือทางด้านเศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาคมาใช้อธิบาย เนื้อหาที่สำคัญของวิชาน้ะเน้นศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเงินเฟ้อและอัตราดอกบี้ย สมการปริมาณเงิน การวิเคราะห์เส้นฟิลิปส์การวิเคราะห์เงินเฟ้อด้านอุปสงค์ แบบจำลองเงินเฟ้อ ว่าด้วยการบวกกำไรในราคาสินค้า (Mark-up inflation Model) แบบจำลองเงินเฟ้อว่าด้วยการคาดคะเน (Expectational Model)แบบจำลองเงินเฟ้อว่าด้วยผู้นำด้านค่าจ้าง (Wage Leadership Model) แบบจำลองเงินเฟ้อของนักเศรษฐศาสตร์การเงิน (Monetarist Model) แบบจำลองเงินเฟ้อด้านโครงสร้าง (Structural Model) และนโยบายลดภาวะเงินเฟ้อ
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Business Economics) |
ศึกษาทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การจัดการ ความหมายและหลักการตัดสินใจในการลงทุนการเสี่ยวภัย และความไม่แน่นอน ใช้ทฤษฎีวิเคราะห์ การคาดคะเนต้อนทุน ปริมาณการผลิต อุปสงค์ต่อผลผลิต การกำหนดราคาการโฆษณา กำไร |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Business Economics) |
ศึกษาทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การจัดการ ความหมายและหลักการตัดสินใจในการลงทุนการเสี่ยวภัย และความไม่แน่นอน ใช้ทฤษฎีวิเคราะห์ การคาดคะเนต้อนทุน ปริมาณการผลิต อุปสงค์ต่อผลผลิต การกำหนดราคาการโฆษณา กำไร |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยเทคโนโลยี |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Technology) |
เปรียบเทียบแนวความคิดทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจวิศวกรรมศาสตร์และธุรกิจ ทบทวนทฤษฎีเกี่ยวกับการประดิษฐ์คิดทำ และผลของการ ประดิษฐ์คิดทำที่มีต่อองค์การธุรกิจแต่ละแห่ง และต่อเศรษฐกิจทั้งหมด วิเคราะห์ปัญหาพิเศษเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี ในประเทศกำลังพัฒนา |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยเทคโนโลยี |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Technology) |
เปรียบเทียบแนวความคิดทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจวิศวกรรมศาสตร์และธุรกิจ ทบทวนทฤษฎีเกี่ยวกับการประดิษฐ์คิดทำ และผลของการ ประดิษฐ์คิดทำที่มีต่อองค์การธุรกิจแต่ละแห่ง และต่อเศรษฐกิจทั้งหมด วิเคราะห์ปัญหาพิเศษเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี ในประเทศกำลังพัฒนา |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยเทคโนโลยี |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(ECONOMICS OF TECHNOLOGY ) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยเทคโนโลยี |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(ECONOMICS OF TECHNOLOGY ) |
- |
|
|
|
|
อุตสาหกรรมสัมพันธ์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Industrial Relations) |
ศึกษาถึงพฤติกรรมและความสัมพันธ์ทางสังคมในลักษณะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกิจการอุตสาหกรรมโดยเสนอแนวทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การบริหารและพัฒนาการทางสังคมที่เกี่ยวข้อง และการประยุกต์มาใช้การผลิต การบริหารการใช้แรงงานในอุตสาหกรรมอธิบายถึงวัตถุประสงค์ บทบาท และกลไกการทำงานของนายจ้าง แรงงานและรัฐบาลรวมทั้งปัจจัยต่าง ๆ ที่กำหนดรูปแบบขอบเขตของกฎเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติด้านแรงงานสัมพันธ์ในอุตสาหกรรม |
|
|
|
|
อุตสาหกรรมสัมพันธ์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Industrial Relations) |
ศึกษาถึงพฤติกรรมและความสัมพันธ์ทางสังคมในลักษณะต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในกิจการอุตสาหกรรมโดยเสนอแนวทฤษฎีเศรษฐศาสตร์การบริหารและพัฒนาการทางสังคมที่เกี่ยวข้อง และการประยุกต์มาใช้การผลิต การบริหารการใช้แรงงานในอุตสาหกรรมอธิบายถึงวัตถุประสงค์ บทบาท และกลไกการทำงานของนายจ้าง แรงงานและรัฐบาลรวมทั้งปัจจัยต่าง ๆ ที่กำหนดรูปแบบขอบเขตของกฎเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติด้านแรงงานสัมพันธ์ในอุตสาหกรรม |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์โครงสร้างและพฤติกรรมของอุตสาหกรรม 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Industrial Structure & Performance 1) |
ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาของอุตสาหกรรมในด้านโครงสร้างและพฤติกรรม โดยเน้นในเรื่องการรวมธุรกิจ การรวบรวมธุรกิจ การกระจายการลงทุน การวิเคราะห์ข้อมูล การวัดและการประเมินผล บทบาทของรัฐบาลที่มีต่ออุตสาหกรรม |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์โครงสร้างและพฤติกรรมของอุตสาหกรรม 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Industrial Structure & Performance 1) |
ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาของอุตสาหกรรมในด้านโครงสร้างและพฤติกรรม โดยเน้นในเรื่องการรวมธุรกิจ การรวบรวมธุรกิจ การกระจายการลงทุน การวิเคราะห์ข้อมูล การวัดและการประเมินผล บทบาทของรัฐบาลที่มีต่ออุตสาหกรรม |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การเงินและการธนาคาร |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Money and Banking) |
ศึกษาตัวแปรทางการเงิน ระบบการเงิน ตลาดและสถาบันทางการเงิน เครื่องมือทางการเงิน การดำเนินการและบทบาทของธนาคารพาณิชย์ ธนาคารและสถาบันการเงินอื่น ๆ ที่มีต่อปริมาณเงินและการพัฒนาเศรษฐกิจ รวมทั้งความรู้พทื้นฐานของทฤษฎีและนโยบายทางการเงิน |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การเงินและการธนาคาร |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Money and Banking) |
ศึกษาตัวแปรทางการเงิน ระบบการเงิน ตลาดและสถาบันทางการเงิน เครื่องมือทางการเงิน การดำเนินการและบทบาทของธนาคารพาณิชย์ ธนาคารและสถาบันการเงินอื่น ๆ ที่มีต่อปริมาณเงินและการพัฒนาเศรษฐกิจ รวมทั้งความรู้พทื้นฐานของทฤษฎีและนโยบายทางการเงิน |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การเงิน 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Monetary Economics 1) |
ศึกษาแนวคิดเชิงทฤษฎีที่เกี่ยวกับความหมาย และการกำหนดขึ้นของปริมาณเงินอัตราดอกเบี้ย โครงสร้างของอัตราดอกเบี้ยและราคาซื้อขายของหลักทรัพย์ทางการเงินทฤษฎีอุปสงค์ทางการเงินในแนวคิดต่าง ๆ ทฤษฎีอุปทานของเงินโดยฐานของเงินสำรองและฐานของเงิน แนวคิดของปริมาณเงินที่เป็นตัวแปรที่ถูกกำหนดจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน เงื่อนไปและขบวนการปรับตัวของระบบเศรษฐกิจต่อการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การเงิน 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Monetary Economics 1) |
ศึกษาแนวคิดเชิงทฤษฎีที่เกี่ยวกับความหมาย และการกำหนดขึ้นของปริมาณเงินอัตราดอกเบี้ย โครงสร้างของอัตราดอกเบี้ยและราคาซื้อขายของหลักทรัพย์ทางการเงินทฤษฎีอุปสงค์ทางการเงินในแนวคิดต่าง ๆ ทฤษฎีอุปทานของเงินโดยฐานของเงินสำรองและฐานของเงิน แนวคิดของปริมาณเงินที่เป็นตัวแปรที่ถูกกำหนดจากปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน เงื่อนไปและขบวนการปรับตัวของระบบเศรษฐกิจต่อการดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ |
|
|
|
|
|
|
|
(Principles of Taxation) |
ศึกษาโครงสร้างทั่วไปทางภาษีอากร ฐานภาษี อัตรภาษี ระบบภาษีอากร หลักการจัดเก็บภาระและผลกระทบของภาษีอากรระบบและวิธีการจัดเก็บภาษีอากรประเทศต่าง ๆ ได้แก่ ภาษีเงินได้ ภาษีทรัพย์สิน ภาษีมรดก ภาษีการค้า ภาษีสรรพสามิตร ภาษีศุลการกร และภาษีอื่น ๆ และการศึกษาจะเน้นการบรรยายเชิงเส้น(Graph) |
|
|
|
|
|
|
|
(Principles of Taxation) |
ศึกษาโครงสร้างทั่วไปทางภาษีอากร ฐานภาษี อัตรภาษี ระบบภาษีอากร หลักการจัดเก็บภาระและผลกระทบของภาษีอากรระบบและวิธีการจัดเก็บภาษีอากรประเทศต่าง ๆ ได้แก่ ภาษีเงินได้ ภาษีทรัพย์สิน ภาษีมรดก ภาษีการค้า ภาษีสรรพสามิตร ภาษีศุลการกร และภาษีอื่น ๆ และการศึกษาจะเน้นการบรรยายเชิงเส้น(Graph) |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การภาษีอากรไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Thai Taxation) |
PR : EC 111 , EC 112
ศึกษาโครงสร้างภาษีอากรของไทย ระบบและวิธีการจัดเก็บภาษีเงินได้ ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม อากรแสตมป์ ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลการกร ภาษียานยนต์ ภาษีการพนัน และภาษีอากรของราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ตลอดจนแนวทางแก้ไขปรับปรุงระบบและวิธีการจัดเก็บภาษีอากรของไทย |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การภาษีอากรไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Thai Taxation) |
PR : EC 111 , EC 112
ศึกษาโครงสร้างภาษีอากรของไทย ระบบและวิธีการจัดเก็บภาษีเงินได้ ภาษีการค้า ภาษีมูลค่าเพิ่ม อากรแสตมป์ ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลการกร ภาษียานยนต์ ภาษีการพนัน และภาษีอากรของราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ตลอดจนแนวทางแก้ไขปรับปรุงระบบและวิธีการจัดเก็บภาษีอากรของไทย |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ภาษีอาการไทย |
- |
หน่วย |
|
|
|
(THE ECONOMICS OF THAI TAXATION) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ภาษีอาการไทย |
- |
หน่วย |
|
|
|
(THE ECONOMICS OF THAI TAXATION) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ภาษีอากรไทย |
- |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Thai Taxation) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ภาษีอากรไทย |
- |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Thai Taxation) |
- |
|
|
|
|
ทฤษฎีการผลิตและการตั้งราคาสินค้าสาธารณะ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Pricing and Producing Theory of Public Goods) |
ศึกษาลักษณะของสินค้าสาธารณะ สินค้ากึ่งสาธารณะ และสินค้าเอกชน ทฤษฎีการผลิตและการตั้งราคาสินค้าสาธารณะ ผลกระทบของสินค้าสาธารณะที่ก่อให้เกิดการประหยัดทางสังคม (external economy)และที่ก่อให้เกิดต้นทุนทางสังคม (external diseconomy) การใช้เครื่องมือทางการคลัง เพื่อควบคุมผลกระทบภายนอกที่เกิดขึ้น |
|
|
|
|
ทฤษฎีการผลิตและการตั้งราคาสินค้าสาธารณะ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Pricing and Producing Theory of Public Goods) |
ศึกษาลักษณะของสินค้าสาธารณะ สินค้ากึ่งสาธารณะ และสินค้าเอกชน ทฤษฎีการผลิตและการตั้งราคาสินค้าสาธารณะ ผลกระทบของสินค้าสาธารณะที่ก่อให้เกิดการประหยัดทางสังคม (external economy)และที่ก่อให้เกิดต้นทุนทางสังคม (external diseconomy) การใช้เครื่องมือทางการคลัง เพื่อควบคุมผลกระทบภายนอกที่เกิดขึ้น |
|
|
|
|
ทฤษฎีการผลิตและการตั้งราคาสินค้าสาธารณะ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Pricing & Producing Theory of Public Goods) |
|
|
|
|
|
ทฤษฎีการผลิตและการตั้งราคาสินค้าสาธารณะ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Pricing & Producing Theory of Public Goods) |
|
|
|
|
|
ทฤษฎีการเงินระหว่างประเทศ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(International Monetary Theories) |
|
|
|
|
|
ทฤษฎีการเงินระหว่างประเทศ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(International Monetary Theories) |
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยดุลการชำระเงิน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Balance of Payments) |
PR : EC 212 and EC 351
ศึกษาองค์ประกอบของดุลการชำระเงิน การเกินดุลหรือการขาดดุล การวิเคราะห์ดุลการชำระเงินตามทฤษฎีคลาสสิคและทฤษฎีสมัยใหม่ การใช้นโยบายการเงินและการคลัง นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนและนโยบายการค้าในการปรับดุลการชำระเงิน ลักษณะของทุนสำรองระหว่างประเทศ สาเหตุและปัญหาดุลการชำระเงินของประเทศไทย |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยดุลการชำระเงิน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Balance of Payments) |
PR : EC 212 and EC 351
ศึกษาองค์ประกอบของดุลการชำระเงิน การเกินดุลหรือการขาดดุล การวิเคราะห์ดุลการชำระเงินตามทฤษฎีคลาสสิคและทฤษฎีสมัยใหม่ การใช้นโยบายการเงินและการคลัง นโยบายอัตราแลกเปลี่ยนและนโยบายการค้าในการปรับดุลการชำระเงิน ลักษณะของทุนสำรองระหว่างประเทศ สาเหตุและปัญหาดุลการชำระเงินของประเทศไทย |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยดุลการชำระเงิน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Balance of Payments) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยดุลการชำระเงิน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Balance of Payments) |
- |
|
|
|
|
การค้าระหว่างประเทศของระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม |
- |
หน่วย |
|
|
|
(International Trade of Socialist Economy ) |
- |
|
|
|
|
การค้าระหว่างประเทศของระบบเศรษฐกิจสังคมนิยม |
- |
หน่วย |
|
|
|
(International Trade of Socialist Economy ) |
- |
|
|
|
|
การพัฒนาเศรษฐกิจเบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Principles of Economic Development) |
ศึกษาความหมายของการพัฒฯและการเจริญเติบโต สาเหตุของความด้อยพัฒนาและผลกระทบที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ ตัวแบบในการพัฒนาและการเจริญเติบโตของนักเศรษฐศาสตร์สำนักต่าง ๆ นโยบายและกลยุทธการพัฒนาเศรษฐกิจ การวางแผนเศรษฐกิจไทย |
|
|
|
|
การพัฒนาเศรษฐกิจเบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Principles of Economic Development) |
ศึกษาความหมายของการพัฒฯและการเจริญเติบโต สาเหตุของความด้อยพัฒนาและผลกระทบที่มีต่อระบบเศรษฐกิจ ตัวแบบในการพัฒนาและการเจริญเติบโตของนักเศรษฐศาสตร์สำนักต่าง ๆ นโยบายและกลยุทธการพัฒนาเศรษฐกิจ การวางแผนเศรษฐกิจไทย |
|
|
|
|
|
|
|
(Urban Economics) |
ศึกษาถึงสาเหตุที่มีการรวมตัวกันของกิจกรรมทางเศรษฐกิจขึ้นมาเป็นเมือง วิเคราะห์ถึงผลประโยชน์และต้นทุนของการรวมตัวกันนี้ โดยพิจารณาถึงปัจจัยการเลือกตั้ง การใช้ที่ดิน ราคาที่ดิน ทฤษฎีที่ตั้งของเมือง การกำหนดเขต (Zoning) สิ่งแวดล้อม ในเมืองการขนส่งในเมือง และนโยบายที่ควรเป็นต่อไปในอนคต ซึ่งรวมไปถึงการกำหนดขนาดที่เหมาะสมของเมืองด้วย |
|
|
|
|
|
|
|
(Urban Economics) |
ศึกษาถึงสาเหตุที่มีการรวมตัวกันของกิจกรรมทางเศรษฐกิจขึ้นมาเป็นเมือง วิเคราะห์ถึงผลประโยชน์และต้นทุนของการรวมตัวกันนี้ โดยพิจารณาถึงปัจจัยการเลือกตั้ง การใช้ที่ดิน ราคาที่ดิน ทฤษฎีที่ตั้งของเมือง การกำหนดเขต (Zoning) สิ่งแวดล้อม ในเมืองการขนส่งในเมือง และนโยบายที่ควรเป็นต่อไปในอนคต ซึ่งรวมไปถึงการกำหนดขนาดที่เหมาะสมของเมืองด้วย |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การเมือง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(URBAN ECONOMICS) |
ทฤษฎีการเมือง |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การเมือง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(URBAN ECONOMICS) |
ทฤษฎีการเมือง |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ภูมิภาค |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Regional Economics) |
ศึกษาถึงความหมาย ทฤษฎี นโยบาย และการวางแผน เพื่อพัฒนาภูมิภาค รวมทั้งทฤษฎีเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐาน ทฤษฎีการใช้ที่ดิน และการวิเคราะห์ปัญหาอันเกิดจากการขยายตัวของชุมชน อาทิเช่น การขาดแคลนที่อยู่อาศัย ความยากจน สิ่งแวดล้อมและการคมนาคมเป็นต้น |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ภูมิภาค |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Regional Economics) |
ศึกษาถึงความหมาย ทฤษฎี นโยบาย และการวางแผน เพื่อพัฒนาภูมิภาค รวมทั้งทฤษฎีเกี่ยวกับการตั้งถิ่นฐาน ทฤษฎีการใช้ที่ดิน และการวิเคราะห์ปัญหาอันเกิดจากการขยายตัวของชุมชน อาทิเช่น การขาดแคลนที่อยู่อาศัย ความยากจน สิ่งแวดล้อมและการคมนาคมเป็นต้น |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ภูมิภาค |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ภูมิภาค |
3 |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
รายได้ประชาชาติและบัญชีสังคม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(National Income and Social Accounts) |
ความหมายและการสำรวจรายได้ประชาชาติ รายการต่าง ๆ ในบัญีประชาชาติ การคำนวณรายได้ประชาชาติ สูตรต่าง ๆ ที่ใช้ในการคำนวณ |
|
|
|
|
รายได้ประชาชาติและบัญชีสังคม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(National Income and Social Accounts) |
ความหมายและการสำรวจรายได้ประชาชาติ รายการต่าง ๆ ในบัญีประชาชาติ การคำนวณรายได้ประชาชาติ สูตรต่าง ๆ ที่ใช้ในการคำนวณ |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การขนส่ง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Transportation) |
ศึกษาการพัฒนาการขนส่งเพื่อช่วยในการลดต้นทุนการผลิตและการตลาด ทฤษฎีการกำหนดราคาและการขนส่ง ผลเชื่อมโยงของการขนส่งต่อระบบเศรษฐกิจ ทฤษฎีเกี่ยวกับสถานที่ตั้งของอุตสาหกรรม ศึกษาวิเคราะห์สภาพทางเศรษฐกิจของการขนส่งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศในประเทศไทย |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การขนส่ง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Transportation) |
ศึกษาการพัฒนาการขนส่งเพื่อช่วยในการลดต้นทุนการผลิตและการตลาด ทฤษฎีการกำหนดราคาและการขนส่ง ผลเชื่อมโยงของการขนส่งต่อระบบเศรษฐกิจ ทฤษฎีเกี่ยวกับสถานที่ตั้งของอุตสาหกรรม ศึกษาวิเคราะห์สภาพทางเศรษฐกิจของการขนส่งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศในประเทศไทย |
|
|
|
|
การวิเคราะห์โครงการพัฒนา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Devlopment Projects Analysis) |
ศึกษาถึงความหมายและความสำคัญของการใช้ทรัพยากรอันจำกัดให้มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการวางแผนโครงการพัฒนา การหลักในการวางแผนโครงการและวงจรโครงการหลักหรือเทคนิคในการวิเคราะห์โครงการโดยทั่วไป วิเคราะห์และประเมินค่าโครงการโดยหลักต้นทุน - ผลประโยชน์ (Cost - Benefit Analysis)การวิเคราะห์ต้นทุน - ประสิทธิผล (Cost - Effictiveness Analysis) การวิเคราะห์โครงการในกรณีที่มีความไม่แน่นอน และกรณีตัวอย่างของการวิเคราะห์โครงการ |
|
|
|
|
การวิเคราะห์โครงการพัฒนา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Devlopment Projects Analysis) |
ศึกษาถึงความหมายและความสำคัญของการใช้ทรัพยากรอันจำกัดให้มีประสิทธิภาพดีที่สุดในการวางแผนโครงการพัฒนา การหลักในการวางแผนโครงการและวงจรโครงการหลักหรือเทคนิคในการวิเคราะห์โครงการโดยทั่วไป วิเคราะห์และประเมินค่าโครงการโดยหลักต้นทุน - ผลประโยชน์ (Cost - Benefit Analysis)การวิเคราะห์ต้นทุน - ประสิทธิผล (Cost - Effictiveness Analysis) การวิเคราะห์โครงการในกรณีที่มีความไม่แน่นอน และกรณีตัวอย่างของการวิเคราะห์โครงการ |
|
|
|
|
การวิเคราะห์โครงการพัฒนา |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Development Project Analysis) |
- |
|
|
|
|
การวิเคราะห์โครงการพัฒนา |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Development Project Analysis) |
- |
|
|
|
|
การพัฒนาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Agricultural and industrial development) |
- |
|
|
|
|
การพัฒนาเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Agricultural and industrial development) |
- |
|
|
|
|
|
|
|
(Mathematical Economics) |
ศึกษาเรื่องกำหนดการเชิงเส้น การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการผลิต ทฤษฎีการแข่งขันสมการเชิงอนุพันธ์ สมการผลต่างสืบเนื่อง และการประยุกต์ใช้เครื่องมือเหล่านี้ในการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ |
|
|
|
|
|
|
|
(Mathematical Economics) |
ศึกษาเรื่องกำหนดการเชิงเส้น การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการผลิต ทฤษฎีการแข่งขันสมการเชิงอนุพันธ์ สมการผลต่างสืบเนื่อง และการประยุกต์ใช้เครื่องมือเหล่านี้ในการวิเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์ |
|
|
|
|
หลัการวิจัยดำเนินงานทางเศรษฐศาสตร์ 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(OPERATIONS RESEARCE METHODS IN ECONoMIC ANALSIS 1) |
- |
|
|
|
|
หลัการวิจัยดำเนินงานทางเศรษฐศาสตร์ 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(OPERATIONS RESEARCE METHODS IN ECONoMIC ANALSIS 1) |
- |
|
|
|
|
หลักการวิจัยดำเนินงานทางเศรษฐศาสตร์ 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Oparations Research Methods in Economic Analysis I) |
ศึกษาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้วิธีการทางเชิงปริมาณเฉพาะแบบในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เป็นเรื่องราวทางเศรษฐศาสตร์ โดยมีสาระสำคัญในเรื่อง ปัญหาการจัดสรรและการขนส่ง กำหนดการจำนวนเต็ม การจำลอง การประเมินวิเคราะห์โครงการและการควบคุมสินค้า คงคลัง
|
|
|
|
|
หลักการวิจัยดำเนินงานทางเศรษฐศาสตร์ 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Oparations Research Methods in Economic Analysis I) |
ศึกษาเกี่ยวกับการประยุกต์ใช้วิธีการทางเชิงปริมาณเฉพาะแบบในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เป็นเรื่องราวทางเศรษฐศาสตร์ โดยมีสาระสำคัญในเรื่อง ปัญหาการจัดสรรและการขนส่ง กำหนดการจำนวนเต็ม การจำลอง การประเมินวิเคราะห์โครงการและการควบคุมสินค้า คงคลัง
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การผลิตทางเกษตร |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Agricultural Production) |
เป็นการศึกษาขอบเขตปัญหา ลักษณะและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์การผลิตทางเกษตร ลัษณะของการทำฟาร์มในปัจจุบัน การจัดองค์การและวิธีปฏิบัติงานฟาร์ม การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตและผลผลิต ตลอดจนการตัดสินใจและการวางแผนการผลิตอย่างเหมาะสม |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การผลิตทางเกษตร |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Agricultural Production) |
เป็นการศึกษาขอบเขตปัญหา ลักษณะและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์การผลิตทางเกษตร ลัษณะของการทำฟาร์มในปัจจุบัน การจัดองค์การและวิธีปฏิบัติงานฟาร์ม การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการผลิตและผลผลิต ตลอดจนการตัดสินใจและการวางแผนการผลิตอย่างเหมาะสม |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การผลิตทางเกษตร |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economies of Agricultural Production) |
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การผลิตทางเกษตร |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economies of Agricultural Production) |
|
|
|
|
|
ราคาผลิตผลเกษตรและรายได้ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Agricultural Price and Income) |
ศึกษาถึงขอบเขต ลักษณะและความสำคัญของราคาผลิตผลเกษตร กลไกของราคา ราคาตลาด ความยืดหยุ่นทางด้านอุปสงค์และอุปทาน วัฏจักรของราคาผลผลิตเกษตร ราคาภายในและต่างประเทศของพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ การควบคุมราคาผลิตผลเกษตร การพยุงราคา การวัดรายได้ การรักษาระดับรายได้และแนวโน้มแห่งรายได้ของเกษตรกร รวมทั้งศึกษานโยบายขนส่งที่เกี่ยวกับราคาพืชเศรษฐกิจบางชนิดและรายได้ของเกษตรกร |
|
|
|
|
ราคาผลิตผลเกษตรและรายได้ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Agricultural Price and Income) |
ศึกษาถึงขอบเขต ลักษณะและความสำคัญของราคาผลิตผลเกษตร กลไกของราคา ราคาตลาด ความยืดหยุ่นทางด้านอุปสงค์และอุปทาน วัฏจักรของราคาผลผลิตเกษตร ราคาภายในและต่างประเทศของพืชเศรษฐกิจที่สำคัญ การควบคุมราคาผลิตผลเกษตร การพยุงราคา การวัดรายได้ การรักษาระดับรายได้และแนวโน้มแห่งรายได้ของเกษตรกร รวมทั้งศึกษานโยบายขนส่งที่เกี่ยวกับราคาพืชเศรษฐกิจบางชนิดและรายได้ของเกษตรกร |
|
|
|
|
ราคาผลิตผลเกษตรและรายได้ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Agricultural Price and Income) |
- |
|
|
|
|
ราคาผลิตผลเกษตรและรายได้ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Agricultural Price and Income) |
- |
|
|
|
|
|
|
|
(Agricultural Marketing) |
ศึกษาความหมายของการตลาดเกษตร ขอบเขต ลักษณะและความสำคัญของการตลาดเกษตร ความเข้าใจหลักการตลาดและการบริโภคสินค้าเกษตร หน้าที่และบริการตลาด การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการตลาดเกี่ยวกับต้นทุนการตลาด ส่วนเหลื่อมการตลาด อำนาจตลาด อำนาจต่อรอง การวิเคราะห์ราคาและตลาดสินค้าเกษตร บทบาทของรัฐบาลในตลาดสินค้าเกษตร ตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตร รวมทั้งการศึกษาภาคปฏิบัติ การศึกษาดูงานองค์กรหรือหน่วยธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการตลาดผลิต ผลิตผลการเกษตรที่สำคัญ ๆ ในประเทศ |
|
|
|
|
|
|
|
(Agricultural Marketing) |
ศึกษาความหมายของการตลาดเกษตร ขอบเขต ลักษณะและความสำคัญของการตลาดเกษตร ความเข้าใจหลักการตลาดและการบริโภคสินค้าเกษตร หน้าที่และบริการตลาด การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการตลาดเกี่ยวกับต้นทุนการตลาด ส่วนเหลื่อมการตลาด อำนาจตลาด อำนาจต่อรอง การวิเคราะห์ราคาและตลาดสินค้าเกษตร บทบาทของรัฐบาลในตลาดสินค้าเกษตร ตลาดซื้อขายล่วงหน้าสินค้าเกษตร รวมทั้งการศึกษาภาคปฏิบัติ การศึกษาดูงานองค์กรหรือหน่วยธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการตลาดผลิต ผลิตผลการเกษตรที่สำคัญ ๆ ในประเทศ |
|
|
|
|
|
|
|
(Agricultural Finance) |
ความหมายของธนกิจการเกษตร ลักษณะ ขอบเขต และความสำคัญของธนกิจการเกษตร เกษตรการทำบัญชีฟาร์ม การวิเคราะห์การเงินและการลงทุน การจัดการเสี่ยงภัย การจัดเงินทุน และสินเชื่อการเกษตร การคิดดอกเบี้ย การชำระคืนเงินกู้ และการวิเคราะห์แหล่งหรือสถาบันให้กู้ยืมทางการเกษตร |
|
|
|
|
|
|
|
(Agricultural Finance) |
ความหมายของธนกิจการเกษตร ลักษณะ ขอบเขต และความสำคัญของธนกิจการเกษตร เกษตรการทำบัญชีฟาร์ม การวิเคราะห์การเงินและการลงทุน การจัดการเสี่ยงภัย การจัดเงินทุน และสินเชื่อการเกษตร การคิดดอกเบี้ย การชำระคืนเงินกู้ และการวิเคราะห์แหล่งหรือสถาบันให้กู้ยืมทางการเกษตร |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ที่ดิน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Land Economics) |
เพื่อให้นักศึกษาทราบถึง ความสำคัญของที่ดินโดยเฉพาะในทางด้านเศรษฐกิจ อุปสงค์ อุปทานของที่ดิน ประชากรกับความต้องการที่ดิน หลักทางเศรษฐศาสตร์ที่นำมาประยุกต์ใช้กับที่ดิน กฎผลตอบแทนลดน้อยถอยลง ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของทรัพยากรที่ดิน ค่าเช่าที่ดินตามแนวความคิดของสำนักคลาสสิค การพัฒนาทรัพยากรที่ดิน การจำแนกและการใช้ที่ดิน การอนุรักษ์ทรัพยากรที่ดิน การปรับปรุงระบบการถือครองที่ดินและปัจจัย ทางด้านสถาบันที่มีผลกระทบต่อการใช้ที่ดิน |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ที่ดิน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Land Economics) |
เพื่อให้นักศึกษาทราบถึง ความสำคัญของที่ดินโดยเฉพาะในทางด้านเศรษฐกิจ อุปสงค์ อุปทานของที่ดิน ประชากรกับความต้องการที่ดิน หลักทางเศรษฐศาสตร์ที่นำมาประยุกต์ใช้กับที่ดิน กฎผลตอบแทนลดน้อยถอยลง ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของทรัพยากรที่ดิน ค่าเช่าที่ดินตามแนวความคิดของสำนักคลาสสิค การพัฒนาทรัพยากรที่ดิน การจำแนกและการใช้ที่ดิน การอนุรักษ์ทรัพยากรที่ดิน การปรับปรุงระบบการถือครองที่ดินและปัจจัย ทางด้านสถาบันที่มีผลกระทบต่อการใช้ที่ดิน |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Thai Economic History) |
ประวัติศษสตร์เศรษฐกิจของไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน การติดต่อค้าขายกับยุโรปและต่างประเทศ |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Thai Economic History) |
ประวัติศษสตร์เศรษฐกิจของไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน การติดต่อค้าขายกับยุโรปและต่างประเทศ |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Thai Economic History) |
- |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Thai Economic History) |
- |
|
|
|
|
ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(History of Economic Development of Sounth Asia) |
ศึกษาถึงพื้นฐานทรัพยากรทางเศรษฐกิจของประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้การเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างเศรษฐกิจตลอดจนปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงนั้นหลักงจากที่ชาติตะวันตกแผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาในเขต การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ลำดับขั้นของการพัฒนาในอนาคต |
|
|
|
|
ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(History of Economic Development of Sounth Asia) |
ศึกษาถึงพื้นฐานทรัพยากรทางเศรษฐกิจของประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้การเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้างเศรษฐกิจตลอดจนปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงนั้นหลักงจากที่ชาติตะวันตกแผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาในเขต การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ลำดับขั้นของการพัฒนาในอนาคต |
|
|
|
|
ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Economic Development of South East Asia) |
- |
|
|
|
|
ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Economic Development of South East Asia) |
- |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา |
- |
หน่วย |
|
|
|
(American Economic History) |
- |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา |
- |
หน่วย |
|
|
|
(American Economic History) |
- |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Russian Economic History) |
PR : EC 213
ศึกษาพื้นฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการเกษตรและอุตสาหกรรมในช่วงก่อนการปฏิวัติเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ อุดมการณ์ทางเศรษฐกิจและคอมมิวนิสต์ การก้าวเข้าสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรม การจัดสรรทรัพยากร การบริหารและปัญหาแรงงานพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันทางด้านการพัฒนาเพื่อเป็นบทเรียนสำหรับประเทศด้อยพัฒนา |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Russian Economic History) |
PR : EC 213
ศึกษาพื้นฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับการเกษตรและอุตสาหกรรมในช่วงก่อนการปฏิวัติเป็นระบอบคอมมิวนิสต์ อุดมการณ์ทางเศรษฐกิจและคอมมิวนิสต์ การก้าวเข้าสู่การเป็นประเทศอุตสาหกรรม การจัดสรรทรัพยากร การบริหารและปัญหาแรงงานพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบันทางด้านการพัฒนาเพื่อเป็นบทเรียนสำหรับประเทศด้อยพัฒนา |
|
|
|
|
ประวัติศาสตรเศรษฐกิจญี่ปุ่น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(japanese economic history) |
ประวัติศาสตรเศรษฐกิจญี่ปุ่น
|
|
|
|
|
ประวัติศาสตรเศรษฐกิจญี่ปุ่น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(japanese economic history) |
ประวัติศาสตรเศรษฐกิจญี่ปุ่น
|
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economic History of the People's Republic of Chaina) |
PR : EC 213
ศึกษาถึงพื้นฐานทรัพยากรทางเกษตร การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจ ตลอดจนปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงหลังการปฏิวัติปี 1949 แนวโน้มของการพัฒนาเศรษฐกิจทั้งในด้านการเกษตรอุตสาหกรรม การค้าเป็นต้น ตลอดจนนโยบายการพัฒนาประเทศให้ทันสมัยและแนวโมของการพัฒนาในอนาคต |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของสาธารณรัฐประชาชนจีน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economic History of the People's Republic of Chaina) |
PR : EC 213
ศึกษาถึงพื้นฐานทรัพยากรทางเกษตร การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างเศรษฐกิจ ตลอดจนปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงหลังการปฏิวัติปี 1949 แนวโน้มของการพัฒนาเศรษฐกิจทั้งในด้านการเกษตรอุตสาหกรรม การค้าเป็นต้น ตลอดจนนโยบายการพัฒนาประเทศให้ทันสมัยและแนวโมของการพัฒนาในอนาคต |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Econmic History of the peple's Republic of China) |
- |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Econmic History of the peple's Republic of China) |
- |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Economic History of the People's Republic of China) |
- |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจสาธารณรัฐประชาชนจีน |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Economic History of the People's Republic of China) |
- |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(History of Economic Development of the Newly Industrialized Countries) |
ศึกษาถึงพื้นฐานทรัพยากรทางเศรษฐกิจ โครงสร้างเศรษฐกิจ กระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ และวิเคราะห์เงื่อนไขที่นำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของประเทศกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ต้องเผชิญอยู่ในปัจจุบันโดยเฉพาะการกีดกันสินค้าของประเทศในยุโรปและอเมริกา และแนวโน้มการพัฒนาของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ในอนาคต |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(History of Economic Development of the Newly Industrialized Countries) |
ศึกษาถึงพื้นฐานทรัพยากรทางเศรษฐกิจ โครงสร้างเศรษฐกิจ กระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจ และวิเคราะห์เงื่อนไขที่นำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของประเทศกลุ่มอุตสาหกรรมใหม่ต้องเผชิญอยู่ในปัจจุบันโดยเฉพาะการกีดกันสินค้าของประเทศในยุโรปและอเมริกา และแนวโน้มการพัฒนาของกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ในอนาคต |
|
|
|
|
ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศละตินอเมริกา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Historyof Economic Development of the Latin American Countries) |
ศึกษาถึงพื้นฐานทรัพยากรทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างเศรษฐกิจตลอดจนปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงนั้นหลังจากที่ชาติยุโรปแผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาในเขต อุปสรรคและปัญหาในการดำเนินการพัฒนาเศรษฐกิจ ลำดับขั้นในการพัฒนาเศรษฐกิจของแต่ละประเทศในกลุ่มโดยเปรียบเทียบ และแนวโน้มของการพัฒนาในอนาคต |
|
|
|
|
ประวัติการพัฒนาเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศละตินอเมริกา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Historyof Economic Development of the Latin American Countries) |
ศึกษาถึงพื้นฐานทรัพยากรทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างเศรษฐกิจตลอดจนปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงนั้นหลังจากที่ชาติยุโรปแผ่ขยายอิทธิพลเข้ามาในเขต อุปสรรคและปัญหาในการดำเนินการพัฒนาเศรษฐกิจ ลำดับขั้นในการพัฒนาเศรษฐกิจของแต่ละประเทศในกลุ่มโดยเปรียบเทียบ และแนวโน้มของการพัฒนาในอนาคต |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจละตินอเมริกา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(History of Economic Development of the Iatin America Countries) |
- |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจละตินอเมริกา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(History of Economic Development of the Iatin America Countries) |
- |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจละตินอเมริกา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(History of Economic Development of the Latin America Countries) |
ศึกษา ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของกลุ่มประเทศละตินอเมริกา |
|
|
|
|
ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจละตินอเมริกา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(History of Economic Development of the Latin America Countries) |
ศึกษา ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจของกลุ่มประเทศละตินอเมริกา |
|
|
|
|
|
|
|
(Labor Unions) |
ศึกษาปรัชญา วัตถุประสงค์ โครงสร้างและบทบาทของสหภาพแรงงาน เนื้อหาที่สำคัญประกอบด้วย ประเภทของสหภาพของแรงงานกับผลกระทบต่อระบบแรงงานสัมพันธ์ของแต่ละประเทศ การจัดสหภาพแรงงานในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ การจัดองค์ประกอบภายในของสหภาพแรงงาน การจัดตั้งและบริหารสมาพันธ์แรงงาน เปรียบเทียบประเด็นสำคัญต่าง ๆ ระหว่างสหภาพแรงงานของไทยกับของประเทศพัฒนาแล้ว |
|
|
|
|
|
|
|
(Labor Unions) |
ศึกษาปรัชญา วัตถุประสงค์ โครงสร้างและบทบาทของสหภาพแรงงาน เนื้อหาที่สำคัญประกอบด้วย ประเภทของสหภาพของแรงงานกับผลกระทบต่อระบบแรงงานสัมพันธ์ของแต่ละประเทศ การจัดสหภาพแรงงานในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ การจัดองค์ประกอบภายในของสหภาพแรงงาน การจัดตั้งและบริหารสมาพันธ์แรงงาน เปรียบเทียบประเด็นสำคัญต่าง ๆ ระหว่างสหภาพแรงงานของไทยกับของประเทศพัฒนาแล้ว |
|
|
|
|
|
|
|
(LABOR UNIONS) |
ศึกษา การใช้แรงงาน ทฤษฎีสฟภาพแรงงาน |
|
|
|
|
|
|
|
(LABOR UNIONS) |
ศึกษา การใช้แรงงาน ทฤษฎีสฟภาพแรงงาน |
|
|
|
|
สหภาพแรงงานและแรงงานสัมพันธ์ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Labor Unions and Relations) |
- |
|
|
|
|
สหภาพแรงงานและแรงงานสัมพันธ์ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Labor Unions and Relations) |
- |
|
|
|
|
ทฤษฎีการเจรจาร่วมต่ออรอง |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Theory of Collective Bargaining) |
- |
|
|
|
|
ทฤษฎีการเจรจาร่วมต่ออรอง |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Theory of Collective Bargaining) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การย้ายถิ่น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Migration) |
ศึกษาทั้งทางด้านทฤษฎีและงานวิจัยเชิงประจักษ์ เกี่ยวกับอิทธิพลของปัจจัยต่าง ๆ ต่อการย้ายถิ่น การย้ายถิ่นกับผลกระทบทางเศรษฐกิจโดยพิจารณาทั้งการย้ายถิ่นภายในประเทศและระหว่างประเทศ ศึกษากรณีเฉพาะกรณีเกี่ยวกับแนวโน้ม ลักษณะผลกระทบของการย้ายถิ่นของแรงงานทั้งภายในประเทศไทย และการเคลื่อนย้ายของแรงงานไทยไปต่างประเทศ |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การย้ายถิ่น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Migration) |
ศึกษาทั้งทางด้านทฤษฎีและงานวิจัยเชิงประจักษ์ เกี่ยวกับอิทธิพลของปัจจัยต่าง ๆ ต่อการย้ายถิ่น การย้ายถิ่นกับผลกระทบทางเศรษฐกิจโดยพิจารณาทั้งการย้ายถิ่นภายในประเทศและระหว่างประเทศ ศึกษากรณีเฉพาะกรณีเกี่ยวกับแนวโน้ม ลักษณะผลกระทบของการย้ายถิ่นของแรงงานทั้งภายในประเทศไทย และการเคลื่อนย้ายของแรงงานไทยไปต่างประเทศ |
|
|
|
|
วัฏจักรธุรกิจและการพยากรณ์ทางเศรษฐกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Business Cycles and Economic Forecastings) |
ศึกษาถึงความหมาย ความสำคัญ แลละการวิเคราะห์วัฏจักรธุรกิจ การบรรเทาความรุนแรงของวัฏจักรธุรกิจ ลักษณะกระบวนการพยากรณ์ภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจ เพื่อประโยชน์ในการแก้ไขและวางแผน |
|
|
|
|
วัฏจักรธุรกิจและการพยากรณ์ทางเศรษฐกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Business Cycles and Economic Forecastings) |
ศึกษาถึงความหมาย ความสำคัญ แลละการวิเคราะห์วัฏจักรธุรกิจ การบรรเทาความรุนแรงของวัฏจักรธุรกิจ ลักษณะกระบวนการพยากรณ์ภาวะการณ์ทางเศรษฐกิจ เพื่อประโยชน์ในการแก้ไขและวางแผน |
|
|
|
|
วิธีวิเคราะห์เศรษฐกิจ |
- |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
วิธีวิเคราะห์เศรษฐกิจ |
- |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
ทฤษฎีต้นทุนอุตสาหกรรม2 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Industrial Cost Theory 2) |
ศึกษาต้นทุนการผลิตของอุตสาหกรรม เพื่อใช้เป็นหลักเบื้องต้นในการคำนวณการวิเคราะห์ การพยากรณ์ การทำงบประมาณ การตัดสินใจลงทุนและขยายการผลิตด้านอุตสาหกรรม โดยเฉพาะการลงทุนด้านอุตสาหกรรมในประเทศไทย |
|
|
|
|
ทฤษฎีต้นทุนอุตสาหกรรม2 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Industrial Cost Theory 2) |
ศึกษาต้นทุนการผลิตของอุตสาหกรรม เพื่อใช้เป็นหลักเบื้องต้นในการคำนวณการวิเคราะห์ การพยากรณ์ การทำงบประมาณ การตัดสินใจลงทุนและขยายการผลิตด้านอุตสาหกรรม โดยเฉพาะการลงทุนด้านอุตสาหกรรมในประเทศไทย |
|
|
|
|
เศรษศาสตร์การเงิน 2 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Monetary Economics 2) |
ศึกษากลไกการส่งทอดทางการเงิน ทฤษฎีทางการเงินต่าง ๆ บทบาทของเงินและตัวแปรทางการเงินอื่น ๆ ต่อระบบเศรษกิจ โดยส่วนรวมในแนวคิดของสำนักต่าง ๆ ของเขตและความมีประสิทธิภาพของการดำเนินนงโยบายการเงิน ประสิทธิภาพของนโยบายเศรษฐกิจ ในทัศนะของนักเศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์และนักการเงินนิยมเป้าหมาย มาตรการและยุทธวิธีทางการเงิน รูปแบบของการดำเนินโยบายการเงินนโยบานการเงินต่อการพัฒนาและความมีเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ |
|
|
|
|
เศรษศาสตร์การเงิน 2 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Monetary Economics 2) |
ศึกษากลไกการส่งทอดทางการเงิน ทฤษฎีทางการเงินต่าง ๆ บทบาทของเงินและตัวแปรทางการเงินอื่น ๆ ต่อระบบเศรษกิจ โดยส่วนรวมในแนวคิดของสำนักต่าง ๆ ของเขตและความมีประสิทธิภาพของการดำเนินนงโยบายการเงิน ประสิทธิภาพของนโยบายเศรษฐกิจ ในทัศนะของนักเศรษฐศาสตร์สำนักเคนส์และนักการเงินนิยมเป้าหมาย มาตรการและยุทธวิธีทางการเงิน รูปแบบของการดำเนินโยบายการเงินนโยบานการเงินต่อการพัฒนาและความมีเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ |
|
|
|
|
การคลังว่าด้วยการกระจายความเป็นธรรม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Public Finance of Distribution) |
วิเคราะห์เงินได้ที่เป็นตัวเงิน(earned income) และเงินได้ที่ไม่เป็นตัวเงิน (unearned income) เพื่อนำไปสูทฤษฎีการกระจายความเป็นธรรม การใช้เครื่องมือทางการคลังเพื่อก่อให้เกิดการกระจายความเป็นธรรม การศึกษาเน้นตัวแบบและทฤษฎีการกระจายความเป็นธรรม |
|
|
|
|
การคลังว่าด้วยการกระจายความเป็นธรรม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Public Finance of Distribution) |
วิเคราะห์เงินได้ที่เป็นตัวเงิน(earned income) และเงินได้ที่ไม่เป็นตัวเงิน (unearned income) เพื่อนำไปสูทฤษฎีการกระจายความเป็นธรรม การใช้เครื่องมือทางการคลังเพื่อก่อให้เกิดการกระจายความเป็นธรรม การศึกษาเน้นตัวแบบและทฤษฎีการกระจายความเป็นธรรม |
|
|
|
|
การคลังว่าด้วยการกระจายความเป็นธรรม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Public Finance of Distrbution) |
- |
|
|
|
|
การคลังว่าด้วยการกระจายความเป็นธรรม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Public Finance of Distrbution) |
- |
|
|
|
|
ทฤษฎีและนโยบายการคลัง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Fiscal Theory and Policy) |
ศึกษาโครงสร้างด้านรายได้ การใช้จ่าย และการก่อหนี้สาธารณะ เพื่อบรรลุเป้าหมายด้านเศรษฐกิจมหภาคที่เกี่ยวกับระดับรายได้และการมีงานทำ เสถียรภาพของระดับราคา ค่าจ้าง อัตราดอกเบี้น การเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจ และเสถียรภาพดุลการชำระเงิน และอื่น ๆ |
|
|
|
|
ทฤษฎีและนโยบายการคลัง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Fiscal Theory and Policy) |
ศึกษาโครงสร้างด้านรายได้ การใช้จ่าย และการก่อหนี้สาธารณะ เพื่อบรรลุเป้าหมายด้านเศรษฐกิจมหภาคที่เกี่ยวกับระดับรายได้และการมีงานทำ เสถียรภาพของระดับราคา ค่าจ้าง อัตราดอกเบี้น การเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจ และเสถียรภาพดุลการชำระเงิน และอื่น ๆ |
|
|
|
|
ทฤษฎีและนโยบายการคลัง |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Fiscal Theory and Policy) |
- |
|
|
|
|
ทฤษฎีและนโยบายการคลัง |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Fiscal Theory and Policy) |
- |
|
|
|
|
ข้าว : มาตรการยกระดับราคาข้าว |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Rice : Measurement of Raising Price of Rice) |
- |
|
|
|
|
ข้าว : มาตรการยกระดับราคาข้าว |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Rice : Measurement of Raising Price of Rice) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การวางแผนของรัฐ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Public Planning) |
ศึกษาแนวความคิดและทฤษฎีกับการวางแผนของรัฐของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสังคมนิยม วิธีการและขันตอนการวางแผนของแต่ละระบบเศรษฐกิจ วัตถุประสงค์และการบรรลุเป้าหมายของแผนแต่ละระบบเศรษฐกิจ การใช้เครื่องมือทางการคลังเพื่อบรรลุเป้าหมายตามแผน |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การวางแผนของรัฐ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Public Planning) |
ศึกษาแนวความคิดและทฤษฎีกับการวางแผนของรัฐของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสังคมนิยม วิธีการและขันตอนการวางแผนของแต่ละระบบเศรษฐกิจ วัตถุประสงค์และการบรรลุเป้าหมายของแผนแต่ละระบบเศรษฐกิจ การใช้เครื่องมือทางการคลังเพื่อบรรลุเป้าหมายตามแผน |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การวางแผนของรัฐ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Public Planning) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การวางแผนของรัฐ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(The Economics of Public Planning) |
- |
|
|
|
|
สถาบันการค้าระหว่างประเทศ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(International Trade Institutions) |
สถาบันการค้าระหว่างประเทศ (EC 451) เรียบเรียง
จากเอกสารของกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการต่างประเทศ และหน่วยงานอื่นๆ ที่มี
การศึกษาเกี่ยวข้อง รวมถึงข้อมูลจากสื่อสาระสนเทศ บทบาทของสถาบันการค้าระหว่าง
ประเทศมีความสำคัญต่อการกำหนดทิศทางทางการค้าของประเทศไทย และโดยที่มีสถาบัน
การค้าต่างๆ มีการประชุมเพื่อปรับปรุงและเพิ่มเติมวิธีการปฏิบัติตลอดมา การจะศึกษา
เศรษฐกิจระหว่างประเทศให้ทันต่อสถานการณ์ จึงจำเป็นต้องติดตามข่าวสารความ
เคลื่อนไหวและการประชุมของสถาบันเหล่านี้อย่างสม่ำเสมอ |
|
|
|
|
สถาบันการค้าระหว่างประเทศ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(International Trade Institutions) |
สถาบันการค้าระหว่างประเทศ (EC 451) เรียบเรียง
จากเอกสารของกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการต่างประเทศ และหน่วยงานอื่นๆ ที่มี
การศึกษาเกี่ยวข้อง รวมถึงข้อมูลจากสื่อสาระสนเทศ บทบาทของสถาบันการค้าระหว่าง
ประเทศมีความสำคัญต่อการกำหนดทิศทางทางการค้าของประเทศไทย และโดยที่มีสถาบัน
การค้าต่างๆ มีการประชุมเพื่อปรับปรุงและเพิ่มเติมวิธีการปฏิบัติตลอดมา การจะศึกษา
เศรษฐกิจระหว่างประเทศให้ทันต่อสถานการณ์ จึงจำเป็นต้องติดตามข่าวสารความ
เคลื่อนไหวและการประชุมของสถาบันเหล่านี้อย่างสม่ำเสมอ |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการคุ้มกัน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Protection) |
ศึกษานโยบายคุ้นกันทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ โครงสร้างของนโยบายการคุ้มกันลักษณะของนโยบายที่เหมาะสม ผลของนโยบายที่มีต่อรายได้ของรัฐ การกระจายรายได้ การจ้างงาน การคุ้มครองอุตสาหกรรม อัตรการการค้าระหว่างประเทศ การผูกขาดของธุรกิจ การสะสมทุน และการลงทุนระหว่างประเทศ รวมทั้งวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ของนโยบาย |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการคุ้มกัน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Protection) |
ศึกษานโยบายคุ้นกันทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ โครงสร้างของนโยบายการคุ้มกันลักษณะของนโยบายที่เหมาะสม ผลของนโยบายที่มีต่อรายได้ของรัฐ การกระจายรายได้ การจ้างงาน การคุ้มครองอุตสาหกรรม อัตรการการค้าระหว่างประเทศ การผูกขาดของธุรกิจ การสะสมทุน และการลงทุนระหว่างประเทศ รวมทั้งวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ของนโยบาย |
|
|
|
|
การค้าระหว่างประเทศของไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(International Trade of Thailand) |
ศึกษาบทบาทของสถาบันการค้าระหว่างประเทศในการควบคุมหรือขยายหรือจัดระเบียบทางการค้าระหว่างประเทศ บทบาทของภาครัฐบาลและเอกชนในประเทศไทยในการส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทย วิเคราะห์ภาวะการค้าระหว่างประเทศ จำแนกตามประเทศคู่ค้าและประเภทของสินค้า คาดประมาณผลการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทยในอนาคต โดยใช้หลักการวิเคราะห์ทางสถิติ ศึกษาปัญหาทางการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นำเสนอมาตรการที่เหมาะสมสำหรับเป็นเครื่องมือในการแก้ไขและปรับปรุงการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทย
|
|
|
|
|
การค้าระหว่างประเทศของไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(International Trade of Thailand) |
ศึกษาบทบาทของสถาบันการค้าระหว่างประเทศในการควบคุมหรือขยายหรือจัดระเบียบทางการค้าระหว่างประเทศ บทบาทของภาครัฐบาลและเอกชนในประเทศไทยในการส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทย วิเคราะห์ภาวะการค้าระหว่างประเทศ จำแนกตามประเทศคู่ค้าและประเภทของสินค้า คาดประมาณผลการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทยในอนาคต โดยใช้หลักการวิเคราะห์ทางสถิติ ศึกษาปัญหาทางการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทยตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน นำเสนอมาตรการที่เหมาะสมสำหรับเป็นเครื่องมือในการแก้ไขและปรับปรุงการค้าระหว่างประเทศของประเทศไทย
|
|
|
|
|
การค้าต่างประเทศของประเทศไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(FOREIGN TRADE OF THAILAND) |
เอกสารประกอบการบรรยายวิชา การค้าต่างประเทศของไทย (EC 454) เรียบเรียง
จากเอกสารของกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
อุตสาหกรรม กระทรวงการต่างประเทศ และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนั้น รวบรวมข้อมูลจากสื่อสาระสนเทศ บทบาท
ของการค้ากับต่างประเทศมีความสำคัญต่อการหารายได้และเศรษฐกิจของประเทศไทย ใน
การจะศึกษาภาวะเศรษฐกิจระหว่างประเทศให้ทันต่อสถานการณ์ จำเป็นต้องติดตามข่าวสาร
ความเคลื่อนไหวและมาตรการต่างๆ ของประเทศคู่ค้า ประเทศคู่แข่งอย่างใกล้ชิด เพื่อที่จะ
สามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับภาวะการแข่งขันในตลาดโลกได้ |
|
|
|
|
การค้าต่างประเทศของประเทศไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(FOREIGN TRADE OF THAILAND) |
เอกสารประกอบการบรรยายวิชา การค้าต่างประเทศของไทย (EC 454) เรียบเรียง
จากเอกสารของกระทรวงพาณิชย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวง
อุตสาหกรรม กระทรวงการต่างประเทศ และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน
ร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง นอกจากนั้น รวบรวมข้อมูลจากสื่อสาระสนเทศ บทบาท
ของการค้ากับต่างประเทศมีความสำคัญต่อการหารายได้และเศรษฐกิจของประเทศไทย ใน
การจะศึกษาภาวะเศรษฐกิจระหว่างประเทศให้ทันต่อสถานการณ์ จำเป็นต้องติดตามข่าวสาร
ความเคลื่อนไหวและมาตรการต่างๆ ของประเทศคู่ค้า ประเทศคู่แข่งอย่างใกล้ชิด เพื่อที่จะ
สามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับภาวะการแข่งขันในตลาดโลกได้ |
|
|
|
|
การค้าต่างประเทศของประเทศไทย |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Foreign Trade of Thailand) |
- |
|
|
|
|
การค้าต่างประเทศของประเทศไทย |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Foreign Trade of Thailand) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์พลังงาน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Energy Economics) |
ศึกษาภูมิหลังของทฤษฎีการใช้พลังงาน ข้อถกเถียงในการใช้พลังงานและทรัพยากรการใช้ทรัพยากรพลังงานทุกประเภท ปัญหาและแนวทางแก้ไขการขาดแคลนพลังงาน การพัฒนาพลังงานกับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รวมทั้งนโยบายพลังงานแห่งชาติและข้อเสนอแนะ |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์พลังงาน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Energy Economics) |
ศึกษาภูมิหลังของทฤษฎีการใช้พลังงาน ข้อถกเถียงในการใช้พลังงานและทรัพยากรการใช้ทรัพยากรพลังงานทุกประเภท ปัญหาและแนวทางแก้ไขการขาดแคลนพลังงาน การพัฒนาพลังงานกับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ รวมทั้งนโยบายพลังงานแห่งชาติและข้อเสนอแนะ |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์สำหรับประเทศกำลังพัฒนา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Developing Countries) |
ศึกษาลักษณะและปัญหาของประเทศกำลังพัฒนา การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ โดยอาศัยทฤษฎีและข้อมูลทางเศรษฐกิจสังคมและการเมือง การวิเคราะห์ถึงสาเหตุและผลที่เกิดจากความล้าหลัง เป้าหมายและนโยบายเศรษฐกิจต่าง ๆ ที่มีผลต่อการจำเริญทางเศรษฐกิจ บทบาทของประเทศที่พัฒนาแล้วในการแก้ไขปัญหาของประเทศกำลังพัฒนา การบริหารและการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทยและประเทศกำลังพัฒนาอื่น ๆ |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์สำหรับประเทศกำลังพัฒนา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Developing Countries) |
ศึกษาลักษณะและปัญหาของประเทศกำลังพัฒนา การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ โดยอาศัยทฤษฎีและข้อมูลทางเศรษฐกิจสังคมและการเมือง การวิเคราะห์ถึงสาเหตุและผลที่เกิดจากความล้าหลัง เป้าหมายและนโยบายเศรษฐกิจต่าง ๆ ที่มีผลต่อการจำเริญทางเศรษฐกิจ บทบาทของประเทศที่พัฒนาแล้วในการแก้ไขปัญหาของประเทศกำลังพัฒนา การบริหารและการใช้แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศไทยและประเทศกำลังพัฒนาอื่น ๆ |
|
|
|
|
การคลังว่าด้วยการกระจายความเป็นธรรม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Public Finance of Distrbution) |
- |
|
|
|
|
การคลังว่าด้วยการกระจายความเป็นธรรม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Public Finance of Distrbution) |
- |
|
|
|
|
การสร้างแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Operations Research Methods in Economic Analysis II) |
ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทางเศรษฐกิจ หลักในการสร้างแบบจำลอง แบบจำลองเศรษฐกิจเชิงสถิตย์ แบบจำลองเศรษฐกิจเชิงพลวัต แบบจำลองนโยบายเศรษฐกิจและแบบจำลองเชิงเศรษฐมิติ |
|
|
|
|
การสร้างแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Operations Research Methods in Economic Analysis II) |
ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทางเศรษฐกิจ หลักในการสร้างแบบจำลอง แบบจำลองเศรษฐกิจเชิงสถิตย์ แบบจำลองเศรษฐกิจเชิงพลวัต แบบจำลองนโยบายเศรษฐกิจและแบบจำลองเชิงเศรษฐมิติ |
|
|
|
|
คู่มือการสร้างแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economic Model Building) |
|
|
|
|
|
คู่มือการสร้างแบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economic Model Building) |
|
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการเกษตร |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Technological Change in Agriculture) |
เป็นการศึกษาถึงลักษณะของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในแง่เศรษฐศาสตร์ การยอมรับเทคโนโลยีการเกษตร การแพร่กระจายเทคโน,ยีการเกษตร ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีที่มีต่อเกษตรกร ผลผลิต การจ้างงานและเศรษฐกิจของประเทศรวมทั้งศึกษา เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการเกษตรของประเทศต่าง ๆ |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการเกษตร |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Economics of Technological Change in Agriculture) |
เป็นการศึกษาถึงลักษณะของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีในแง่เศรษฐศาสตร์ การยอมรับเทคโนโลยีการเกษตร การแพร่กระจายเทคโน,ยีการเกษตร ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีที่มีต่อเกษตรกร ผลผลิต การจ้างงานและเศรษฐกิจของประเทศรวมทั้งศึกษา เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีการเกษตรของประเทศต่าง ๆ |
|
|
|
|
|
|
|
(Agricultural Policies) |
ศึกษาขอบเขตลักษณะและความสำคัญของนโยบายการเกษตรการกำหนดนโยบายการเกษตรและการปฏิวัติ สภาพการเกษตรของไทย สภาพปัญหาของภาคการเกษตรนโยบายการเกษตรในเรื่องแผนพัฒนาฯ และนโยบายการเกษตรของบางประเทศเพื่อศึกษาเปรียบเทียบ |
|
|
|
|
|
|
|
(Agricultural Policies) |
ศึกษาขอบเขตลักษณะและความสำคัญของนโยบายการเกษตรการกำหนดนโยบายการเกษตรและการปฏิวัติ สภาพการเกษตรของไทย สภาพปัญหาของภาคการเกษตรนโยบายการเกษตรในเรื่องแผนพัฒนาฯ และนโยบายการเกษตรของบางประเทศเพื่อศึกษาเปรียบเทียบ |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์เศรษฐกิจไทย |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Agricultural Policies) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์เศรษฐกิจไทย |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Agricultural Policies) |
- |
|
|
|
|
หลักเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ 2 |
- |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
หลักเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ 2 |
- |
หน่วย |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
(The Thai Dairy Industry : Its Problems and Solutions in the Light of the Danish Co-operative Dairy System) |
- |
|
|
|
|
|
|
|
(The Thai Dairy Industry : Its Problems and Solutions in the Light of the Danish Co-operative Dairy System) |
- |
|
|
|
|
ระบบเศรษฐกิจเปรียบเทียบ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Comparative Economic System) |
เปรียบเทียบให้เห็นถึงลักษณะของระบบเศรษฐกิจต่าง ๆ ของโลก ทั้งในด้านรูปแบบทางทฤษฎี (Thoeretical Model) เช่น ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม สังคมนิยม ฯลฯ และเปรียบเทียบทั้งในด้านปฏิบัติ กล่าวคือ เปียบเทียบลักษณะของกลุ่มประเทศกสิกรรม (Agricultural Economic Group) กับกลุ่มประเทศอุตสาหกรรม (Industrial Economic Group) ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษาเปรียบเทียบได้อย่างเสรี |
|
|
|
|
ระบบเศรษฐกิจเปรียบเทียบ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Comparative Economic System) |
เปรียบเทียบให้เห็นถึงลักษณะของระบบเศรษฐกิจต่าง ๆ ของโลก ทั้งในด้านรูปแบบทางทฤษฎี (Thoeretical Model) เช่น ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม สังคมนิยม ฯลฯ และเปรียบเทียบทั้งในด้านปฏิบัติ กล่าวคือ เปียบเทียบลักษณะของกลุ่มประเทศกสิกรรม (Agricultural Economic Group) กับกลุ่มประเทศอุตสาหกรรม (Industrial Economic Group) ทั้งนี้เพื่อให้นักศึกษาเปรียบเทียบได้อย่างเสรี |
|
|
|
|
ระบบเศรษฐกิจเปรียบเทียบ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Comparative Economic System) |
- |
|
|
|
|
ระบบเศรษฐกิจเปรียบเทียบ |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Comparative Economic System) |
- |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การประมง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Fisheries Economics) |
ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรประมง ตลอดจนการใช้อย่างมีประสิทธิภาพ นโยบายการประมงของประเทศไทย ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการประมง เช่น การดำเนินงานของหน่วยธุรกิจในตลาดแข่งขัน ฟังก์ชั่นการผลิตทางการประมงผลผลิตทางการประมงทั้งแบบเสรีและแบบทางเศรษฐกิจ สวัสดิการทางการประมงการร่วมมือ ทำการประมงระหว่างประเทศ กฎระเบียบข้อบังคับทางการประมง บทบาทของสถาบัน เกษตรประมงในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับอาชีพประมงทะเลการจัดการ ทรัพยากรประมง |
|
|
|
|
เศรษฐศาสตร์การประมง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Fisheries Economics) |
ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพยากรประมง ตลอดจนการใช้อย่างมีประสิทธิภาพ นโยบายการประมงของประเทศไทย ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ที่นำมาประยุกต์ใช้ในการประมง เช่น การดำเนินงานของหน่วยธุรกิจในตลาดแข่งขัน ฟังก์ชั่นการผลิตทางการประมงผลผลิตทางการประมงทั้งแบบเสรีและแบบทางเศรษฐกิจ สวัสดิการทางการประมงการร่วมมือ ทำการประมงระหว่างประเทศ กฎระเบียบข้อบังคับทางการประมง บทบาทของสถาบัน เกษตรประมงในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องกับอาชีพประมงทะเลการจัดการ ทรัพยากรประมง |
|
|
|
|
เศรษฐกิจการเงินสหกรณ์การเกษตร |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Financial Economics of Agrcultural Cooperatives) |
ศึกษาถึงเศรษฐกิจการเงินสหกรณ์ เน้นหลักและวิธีการเงินของสหกรณืการเกษตร แหล่งวิธีจัดหาแงะวิธีสงวนเงินทุน ตลอดจนนโยบาย แผน การควบคุมเงิน และการวิเคราะห์ การเงินของสหกรณ์การเกษตรโดยทั่วไป วิธีการจัดหาเงิน ปัญหาและวิธีแก้ปัญหาการเงินของสหกรณ์การเกษตรที่อยู่ในภาวะเศรษฐกิจกำลังพัฒนา แหล่งเงินกู้และวิธีการให้สหกรณ์ ประเภทนี้ที่อยุ่ในภาวะเศรษฐกิจดังกล่าวกู้เงิน |
|
|
|
|
เศรษฐกิจการเงินสหกรณ์การเกษตร |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Financial Economics of Agrcultural Cooperatives) |
ศึกษาถึงเศรษฐกิจการเงินสหกรณ์ เน้นหลักและวิธีการเงินของสหกรณืการเกษตร แหล่งวิธีจัดหาแงะวิธีสงวนเงินทุน ตลอดจนนโยบาย แผน การควบคุมเงิน และการวิเคราะห์ การเงินของสหกรณ์การเกษตรโดยทั่วไป วิธีการจัดหาเงิน ปัญหาและวิธีแก้ปัญหาการเงินของสหกรณ์การเกษตรที่อยู่ในภาวะเศรษฐกิจกำลังพัฒนา แหล่งเงินกู้และวิธีการให้สหกรณ์ ประเภทนี้ที่อยุ่ในภาวะเศรษฐกิจดังกล่าวกู้เงิน |
|
|
|