|
|
|
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Data Processing and Algorithms) |
ประวัติและวิวัฒนาการของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนการประมวลผลด้วยเครื่องจักร โครงสร้างข้อมูลการประมวลผลแฟ้มข้อมูล ระบบการบริหารข้อมูล ปัญหาและอุปสรรคของการประมวลผลด้วยเครื่องจักร การนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ในงานต่าง ๆ โปรแกรมสำเร็จรูปและการใช้โปรแกรมสำเร็จรูในงานด้านต่าง ๆ |
|
|
|
|
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Data Processing and Algorithms) |
ประวัติและวิวัฒนาการของเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนการประมวลผลด้วยเครื่องจักร โครงสร้างข้อมูลการประมวลผลแฟ้มข้อมูล ระบบการบริหารข้อมูล ปัญหาและอุปสรรคของการประมวลผลด้วยเครื่องจักร การนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ในงานต่าง ๆ โปรแกรมสำเร็จรูปและการใช้โปรแกรมสำเร็จรูในงานด้านต่าง ๆ |
|
|
|
|
การประมวลผลข้อมูลเบื้องต้น |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Data Processing) |
- |
|
|
|
|
การประมวลผลข้อมูลเบื้องต้น |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Data Processing) |
- |
|
|
|
|
การประมวลผลข้อมูลเบื้องต้นและอัลกอริธึม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Discrete Structures) |
ศึกษาความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ระบบรหัส ระบบเลขฐานต่าง ๆ ปัญหาและขอบเขตของวิชาที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เช่น ปัญหาที่แก้ได้กับปัญหาที่แก้ไม่ได้ ความขัดแย้งทางตรรกะ ความเป็นไปได้ของการใช้คอมพิวเตอร์ การใช้ปัญญาประดิษฐ์ ปัญหาทางสังคมและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน มีการฝึกใช้ไม่โครคอมพิวเตอร์และซอฟแวร์สำเร็จรูปที่มีประโยชน์ในงานทั่ว ๆ ไป เป็นวิชานำเข้าสู่เนื้อหาของสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์โดยอาศัยตัวอย่างเป็นหลัก |
|
|
|
|
การประมวลผลข้อมูลเบื้องต้นและอัลกอริธึม |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Discrete Structures) |
ศึกษาความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ระบบรหัส ระบบเลขฐานต่าง ๆ ปัญหาและขอบเขตของวิชาที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เช่น ปัญหาที่แก้ได้กับปัญหาที่แก้ไม่ได้ ความขัดแย้งทางตรรกะ ความเป็นไปได้ของการใช้คอมพิวเตอร์ การใช้ปัญญาประดิษฐ์ ปัญหาทางสังคมและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้คอมพิวเตอร์ การใช้งานคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน มีการฝึกใช้ไม่โครคอมพิวเตอร์และซอฟแวร์สำเร็จรูปที่มีประโยชน์ในงานทั่ว ๆ ไป เป็นวิชานำเข้าสู่เนื้อหาของสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์โดยอาศัยตัวอย่างเป็นหลัก |
|
|
|
|
โครงสร้างไม่ต่อเนือง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(DISCRETE STRUCTRES) |
ศึกษา ความรู้เบื้องต้น ความสัมพันธ์ อัลกอริทึม วิธีนับจำนวน |
|
|
|
|
โครงสร้างไม่ต่อเนือง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(DISCRETE STRUCTRES) |
ศึกษา ความรู้เบื้องต้น ความสัมพันธ์ อัลกอริทึม วิธีนับจำนวน |
|
|
|
|
โครงสร้างไม่ต่อเนื่อง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Discrete Structures) |
ทฤษฎีกราฟ ทรี กราฟแบบมีทิศทาง การค้นหาภายในกราฟ ตรรกะและการพิสูจน์ทางตรรกะแบบต่าง ๆ ฟังก์ชันตรรกะ พีชคณิตแบบบูลและวงจรตรรกะ พีชคณิตของเซตความสัมพันธ์ความสัมพันธ์สมมูล ฟังก์ชันในรูปความสัมพันธ์ ฟังก์ชันเวียนบังเกิด (recursive function) กลุ่มและกลุ่มย่อย ชนิดข้อมูล (data type) ที่เป็นโครงสร้างพีชคณิตวิชานี้เน้นการพิสูจน์ทางตรรกะ |
|
|
|
|
โครงสร้างไม่ต่อเนื่อง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Discrete Structures) |
ทฤษฎีกราฟ ทรี กราฟแบบมีทิศทาง การค้นหาภายในกราฟ ตรรกะและการพิสูจน์ทางตรรกะแบบต่าง ๆ ฟังก์ชันตรรกะ พีชคณิตแบบบูลและวงจรตรรกะ พีชคณิตของเซตความสัมพันธ์ความสัมพันธ์สมมูล ฟังก์ชันในรูปความสัมพันธ์ ฟังก์ชันเวียนบังเกิด (recursive function) กลุ่มและกลุ่มย่อย ชนิดข้อมูล (data type) ที่เป็นโครงสร้างพีชคณิตวิชานี้เน้นการพิสูจน์ทางตรรกะ |
|
|
|
|
|
|
|
(Program Stucture) |
โครงสร้างโปรแกรม |
|
|
|
|
|
|
|
(Program Stucture) |
โครงสร้างโปรแกรม |
|
|
|
|
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และภาษาแอสแซมบลี |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Computer Organization and Assembly Language) |
ระบบตัวเลขที่ใช้แทนข้อมูลและคำสั่งในเครื่องคอมพิวเตอร์ โครงสร้างระบบและภาษาเครื่อง หน่วยประมวลผลและหน่วยความจำ แบบจำลองของเครื่อง การโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี การทำงานกับโปรแกรมควบคุมระบบ (อุปกรณ์ตรรกะโปรซีเดอร์สำหรับอ่าน/เขียนข้อมูล ระบบแฟ้มข้อมูลเบื้องต้น การใช้บัฟเฟอร์หลายอัน)รูปแบบและชนิดของคำสั่ง ภาษาแมคโครแอสแซมบลี การเชื่อมโยงส่วนจำเพาะ(module linking) พื้นฐานของโปรแกรมควบคุมระบบ(เช่น การจัดจังหวะประสานมัลติโปรแกรมมิง เทคนิคหน่วยความจำเสมือน เป็นต้น) |
|
|
|
|
โครงสร้างคอมพิวเตอร์และภาษาแอสแซมบลี |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Computer Organization and Assembly Language) |
ระบบตัวเลขที่ใช้แทนข้อมูลและคำสั่งในเครื่องคอมพิวเตอร์ โครงสร้างระบบและภาษาเครื่อง หน่วยประมวลผลและหน่วยความจำ แบบจำลองของเครื่อง การโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี การทำงานกับโปรแกรมควบคุมระบบ (อุปกรณ์ตรรกะโปรซีเดอร์สำหรับอ่าน/เขียนข้อมูล ระบบแฟ้มข้อมูลเบื้องต้น การใช้บัฟเฟอร์หลายอัน)รูปแบบและชนิดของคำสั่ง ภาษาแมคโครแอสแซมบลี การเชื่อมโยงส่วนจำเพาะ(module linking) พื้นฐานของโปรแกรมควบคุมระบบ(เช่น การจัดจังหวะประสานมัลติโปรแกรมมิง เทคนิคหน่วยความจำเสมือน เป็นต้น) |
|
|
|
|
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Progarmming Languages) |
วากยสัมพันธ์ (syntax) และความหมาย (semantic) ของภาษาโปรแกรม วากยสัมพันธ์แบบแบคคัลนาวร์ (BNF)และแผนภาพวากยสัมพันธ์ การสร้างและกำหนดวากยสัมพันธ์ของภาษา การเขียนโปรแกรมแปลภาษาแบบต่าง ๆ ลักษณะเฉพาะของภาษาแบบต่าง ๆ เช่น แบบโครงสร้างบล็อก แบบมอดูลาร์ แบบเชิงวัตถุ (object oriented ) เป็นต้น ประเภทของภาษคอมพิวเตอร์ เช่นแบบกำหนดกระบวนการ (procedural) กับแบบไม่กำหนดกระบวนการ (non - procedural) ซึ่งอาจเป็นแบบเชิงฟังก์ชันหรือแบบเชิงตรรกะ วิชานี้เน้นการฝึกหัวดเขียนและทดสอบแก้ไขชุดคำสั่งในภาษาชั้นสูงเช่นภาษาปาสคาลหรือภาษาซี เพื่อสร้างทักษะขั้นสูงในการเขียนโปรแกรม โดยอาจมีโครงงานเขียนตัวแปลย่อย (interpreter) เพื่อสร้างเสริมความเข้าใจในหลักการทำงานของภาษโปรแกรม |
|
|
|
|
ภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Progarmming Languages) |
วากยสัมพันธ์ (syntax) และความหมาย (semantic) ของภาษาโปรแกรม วากยสัมพันธ์แบบแบคคัลนาวร์ (BNF)และแผนภาพวากยสัมพันธ์ การสร้างและกำหนดวากยสัมพันธ์ของภาษา การเขียนโปรแกรมแปลภาษาแบบต่าง ๆ ลักษณะเฉพาะของภาษาแบบต่าง ๆ เช่น แบบโครงสร้างบล็อก แบบมอดูลาร์ แบบเชิงวัตถุ (object oriented ) เป็นต้น ประเภทของภาษคอมพิวเตอร์ เช่นแบบกำหนดกระบวนการ (procedural) กับแบบไม่กำหนดกระบวนการ (non - procedural) ซึ่งอาจเป็นแบบเชิงฟังก์ชันหรือแบบเชิงตรรกะ วิชานี้เน้นการฝึกหัวดเขียนและทดสอบแก้ไขชุดคำสั่งในภาษาชั้นสูงเช่นภาษาปาสคาลหรือภาษาซี เพื่อสร้างทักษะขั้นสูงในการเขียนโปรแกรม โดยอาจมีโครงงานเขียนตัวแปลย่อย (interpreter) เพื่อสร้างเสริมความเข้าใจในหลักการทำงานของภาษโปรแกรม |
|
|
|
|
การออกแบบวงจรดิจิตอล |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Digital Computer System ) |
ศึกษาการออกแบบวงจรดิจิตอล เพื่อใช้ในงานด้านต่า งๆ รวมทั้งวงจรที่ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ |
|
|
|
|
การออกแบบวงจรดิจิตอล |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Digital Computer System ) |
ศึกษาการออกแบบวงจรดิจิตอล เพื่อใช้ในงานด้านต่า งๆ รวมทั้งวงจรที่ใช้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ |
|
|
|
|
ระบบค้นคืนสารสนเทศ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Information Retrieval) |
ระบบค้นคืนสารสนเทศ |
|
|
|
|
ระบบค้นคืนสารสนเทศ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Information Retrieval) |
ระบบค้นคืนสารสนเทศ |
|
|
|
|
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Management Information Systems) |
- |
|
|
|
|
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Management Information Systems) |
- |
|
|
|
|
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Ssytem Analysis and Design) |
ศึกษาการกำหนดระบบ การวิเคราะห์ระบบ วิธีการกำหนดความต้องการของระบบงานการออกแบบและการใช้ระบบสนเทศสำหรับหน่วยงาน วงจรการพัฒนาระบบเครื่องมือเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ระบบ การออแบบระบบทั่วไป และระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ การวางแผนและการควบคุมโครงการวิเคราะห์ระบบและศึกษาความเป็นไปได้ของระบบงาน การพิจารณาอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมและคุ้มค่า การเขียนข้อกำหนดรายละเอียดสำหรับโปรแกรม |
|
|
|
|
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Ssytem Analysis and Design) |
ศึกษาการกำหนดระบบ การวิเคราะห์ระบบ วิธีการกำหนดความต้องการของระบบงานการออกแบบและการใช้ระบบสนเทศสำหรับหน่วยงาน วงจรการพัฒนาระบบเครื่องมือเบื้องต้นสำหรับการวิเคราะห์ระบบ การออแบบระบบทั่วไป และระบบงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ การวางแผนและการควบคุมโครงการวิเคราะห์ระบบและศึกษาความเป็นไปได้ของระบบงาน การพิจารณาอุปกรณ์และซอฟต์แวร์ที่เหมาะสมและคุ้มค่า การเขียนข้อกำหนดรายละเอียดสำหรับโปรแกรม |
|
|
|
|
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (คู่มือ) |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Systems Analysis And Design) |
- |
|
|
|
|
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (คู่มือ) |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Systems Analysis And Design) |
- |
|
|
|
|
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Software engineering The Production quality software) |
- |
|
|
|
|
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Software engineering The Production quality software) |
- |
|
|
|
|
การจำลองระบบด้วยคอมพิวเตอร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(computer simulation) |
ระบบสารสนเทศ สารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับระบบธุรกิจ การจำลองระบบ |
|
|
|
|
การจำลองระบบด้วยคอมพิวเตอร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(computer simulation) |
ระบบสารสนเทศ สารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจสำหรับระบบธุรกิจ การจำลองระบบ |
|
|
|
|
|
|
|
(Artificial Intelligence) |
- |
|
|
|
|
|
|
|
(Artificial Intelligence) |
- |
|
|
|
|
การบริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Computer Center Management) |
- |
|
|
|
|
การบริหารศูนย์คอมพิวเตอร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Computer Center Management) |
- |
|
|
|