|
|
|
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Language) |
ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษา เริ่มตั้งแต่เรื่องความสำคัญของภาษา จุดกำเนิดของภาษา ลักษณะภาษาของสัตว์ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและสมอง ระบบเสียง ระบบคำ ระบบไวยากรณ์อันเกี่ยวข้องกับศาสตร์ ภาษาศาสตร์เชิงปฏิบัติ (Pramatics) การเรียนรู้ภาษา ลักษณะและเหตุแห่งความหลากหลายทางภาษา รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงภาษาจนกระทั่งลักษณะของภาษาและตัวเขียนต่าง ๆ ในโลก |
|
|
|
|
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษา |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Language) |
ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษา เริ่มตั้งแต่เรื่องความสำคัญของภาษา จุดกำเนิดของภาษา ลักษณะภาษาของสัตว์ ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและสมอง ระบบเสียง ระบบคำ ระบบไวยากรณ์อันเกี่ยวข้องกับศาสตร์ ภาษาศาสตร์เชิงปฏิบัติ (Pramatics) การเรียนรู้ภาษา ลักษณะและเหตุแห่งความหลากหลายทางภาษา รวมไปถึงความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงภาษาจนกระทั่งลักษณะของภาษาและตัวเขียนต่าง ๆ ในโลก |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์ความรู้เบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Linguistics) |
ศึกษาหลักเบื้องต้นของภาษาศาสตร์พรรณนา (Descriptive Linguistics) ลักษณะและธรรมชาติของภาษาในด้านองค์ประกอบและโครงสร้าง และศึกษาการวิเคราะห์ภาษาตามทฤษฎีไวยากรณ์แบบปริวรรต |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์ความรู้เบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Linguistics) |
ศึกษาหลักเบื้องต้นของภาษาศาสตร์พรรณนา (Descriptive Linguistics) ลักษณะและธรรมชาติของภาษาในด้านองค์ประกอบและโครงสร้าง และศึกษาการวิเคราะห์ภาษาตามทฤษฎีไวยากรณ์แบบปริวรรต |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์เบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Linguistics) |
ศึกษา ภาษาศาสตร์เบื้องต้น |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์เบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Linguistics) |
ศึกษา ภาษาศาสตร์เบื้องต้น |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์เบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to linguistics) |
ภาษาศาสตร์เบื้องต้น |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์เบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to linguistics) |
ภาษาศาสตร์เบื้องต้น |
|
|
|
|
สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(English Phonetics) |
ศึกษาหน่วยเสียง หลักการออกเสียงภาษาอังกฤษ ฐานกรณ์ของเสียงและลักษณะการทำงานในการออกเสียงของอวัยวะออกเสียง พร้อมทั้งฝึกออกเสียงต่าง ๆ และกำหนดฐานกรณ์ให้ได้โดยแม่นยำและรวดเร็ว ตลอดจนฝึกอ่านและเขียนสัญลักษณ์ทางสัทศาสตร์ |
|
|
|
|
สัทศาสตร์ภาษาอังกฤษ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(English Phonetics) |
ศึกษาหน่วยเสียง หลักการออกเสียงภาษาอังกฤษ ฐานกรณ์ของเสียงและลักษณะการทำงานในการออกเสียงของอวัยวะออกเสียง พร้อมทั้งฝึกออกเสียงต่าง ๆ และกำหนดฐานกรณ์ให้ได้โดยแม่นยำและรวดเร็ว ตลอดจนฝึกอ่านและเขียนสัญลักษณ์ทางสัทศาสตร์ |
|
|
|
|
|
|
|
(General Phonetics) |
ศึกษาความเป็นมาขอสัทศาสตร์ ความสัมพันธ์กับศาสตร์แขนงอื่น และหลักการเปล่งเสียงที่ปรากฎในภาษาพูด ฝึกฟังเสียงและเปล่งเสียงต่าง ๆ ตามระบบสัทอักษรของ International Phonetic Associations |
|
|
|
|
|
|
|
(General Phonetics) |
ศึกษาความเป็นมาขอสัทศาสตร์ ความสัมพันธ์กับศาสตร์แขนงอื่น และหลักการเปล่งเสียงที่ปรากฎในภาษาพูด ฝึกฟังเสียงและเปล่งเสียงต่าง ๆ ตามระบบสัทอักษรของ International Phonetic Associations |
|
|
|
|
|
|
|
(Phonology 1) |
ศึกษาความสำคัญและที่มาของทฤษฎีโครงสร้างของระบบเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของระบบเสียง และโครงสร้างของระบบอื่น ๆ ในภาษาไทย เนียบเทียบความแตกต่างระหว่างแนวความคิดของสัทวิทยาแนวโครงสร้างนิยม (Structuralism) สัทวิทยาปริวรรต (Generative Phonology) ฝึกวิเคราะห์ระบบเสียงในภาษาต่าง ๆ ฝึกสร้างกฎในเรื่องเสียงและการเรียงลำดับกฎเพื่อนำไปใช้ตามแนวสัทวิทยาแบบปริวรรต |
|
|
|
|
|
|
|
(Phonology 1) |
ศึกษาความสำคัญและที่มาของทฤษฎีโครงสร้างของระบบเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของระบบเสียง และโครงสร้างของระบบอื่น ๆ ในภาษาไทย เนียบเทียบความแตกต่างระหว่างแนวความคิดของสัทวิทยาแนวโครงสร้างนิยม (Structuralism) สัทวิทยาปริวรรต (Generative Phonology) ฝึกวิเคราะห์ระบบเสียงในภาษาต่าง ๆ ฝึกสร้างกฎในเรื่องเสียงและการเรียงลำดับกฎเพื่อนำไปใช้ตามแนวสัทวิทยาแบบปริวรรต |
|
|
|
|
ความรู้เบื้องต้นทางอรรถศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Semantics) |
ศึกษาแนวคิดพื้นฐานในวิชาอรรถศาสตร์ เน้นการวิเคราะห์ทฤษฎีตามแนวปรัชญาและภาษาศาสตร์เกี่ยวกับความหมายของคำและข้อความการสื่อความหมายระหว่างบุคคล ความหมายที่เป็นสื่อทางความรู้สึก ความหมายที่สัมพันธ์กับความเป็นจริง ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบต่าง ๆ ของภาษาศาสตร์ที่นำความหมายไปเกี่ยวข้องได้แก่ ระบบเสียง ระบบคำ และระบบประโยค |
|
|
|
|
ความรู้เบื้องต้นทางอรรถศาสตร์ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Semantics) |
ศึกษาแนวคิดพื้นฐานในวิชาอรรถศาสตร์ เน้นการวิเคราะห์ทฤษฎีตามแนวปรัชญาและภาษาศาสตร์เกี่ยวกับความหมายของคำและข้อความการสื่อความหมายระหว่างบุคคล ความหมายที่เป็นสื่อทางความรู้สึก ความหมายที่สัมพันธ์กับความเป็นจริง ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบต่าง ๆ ของภาษาศาสตร์ที่นำความหมายไปเกี่ยวข้องได้แก่ ระบบเสียง ระบบคำ และระบบประโยค |
|
|
|
|
การวิเคราะห์โครงสร้างภาษาไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(ANALYSIS OF THAI STRUCTURE) |
ศึกษา การวิเคราะห์ภาษาไทย |
|
|
|
|
การวิเคราะห์โครงสร้างภาษาไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(ANALYSIS OF THAI STRUCTURE) |
ศึกษา การวิเคราะห์ภาษาไทย |
|
|
|
|
การวิเคราะห์โครงสร้างภาษาไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(ANALYSIS OF THAI STRUCTURE) |
การวิเคราะห์โครงสร้างภาษาไทย |
|
|
|
|
การวิเคราะห์โครงสร้างภาษาไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(ANALYSIS OF THAI STRUCTURE) |
การวิเคราะห์โครงสร้างภาษาไทย |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์และการอ่าน 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Linguistics and Reading 1) |
ศึกษาทฤษฎี หลักการและวิธีการทางภาษาศาสตร์เพื่อนำมาประยุกต์ ในการแก้ปัญหาและการส่งเสริมการอ่านในระดับพื้นฐาน (ควรเรียนกระบวนวิชา LI 200 และ LI 387 มาก่อน) |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์และการอ่าน 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Linguistics and Reading 1) |
ศึกษาทฤษฎี หลักการและวิธีการทางภาษาศาสตร์เพื่อนำมาประยุกต์ ในการแก้ปัญหาและการส่งเสริมการอ่านในระดับพื้นฐาน (ควรเรียนกระบวนวิชา LI 200 และ LI 387 มาก่อน) |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์และการเขียน 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Linguistics and Writing 1) |
ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการเขียนภาษาอังกฤษเบื้องต้น ศึกษาระเบียบวิธีเกี่ยวกับการเขียน เทคนิคการเขียนและใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีประโยชน์ต่อการเขียนภาษาอังกฤษระดับเบื้องต้น เน้นวิธีแก้ปัญหาการเขียนภาษาอังกฤษเป็นรายบุคคลของผู้เริ่มเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง และการแก้ไขปัญหาดังกล่าวตามแนวภาษาศาสตร์ |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์และการเขียน 1 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Linguistics and Writing 1) |
ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการเขียนภาษาอังกฤษเบื้องต้น ศึกษาระเบียบวิธีเกี่ยวกับการเขียน เทคนิคการเขียนและใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ที่มีประโยชน์ต่อการเขียนภาษาอังกฤษระดับเบื้องต้น เน้นวิธีแก้ปัญหาการเขียนภาษาอังกฤษเป็นรายบุคคลของผู้เริ่มเรียนภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สอง และการแก้ไขปัญหาดังกล่าวตามแนวภาษาศาสตร์ |
|
|
|
|
การใช้คำและกระสวนประโยคภาษาอังกฤษที่น่ารู้สำหรับนักศึกษาไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Words and Sentence Patterns in English Usage for Thai Students) |
ศึกษาปัญหาภาษาอังกฤษในด้านการใช้คำและกระสวนประโยคที่เป็นปัญหากับนักศึกษาไทย โดยเน้นความรู้และทักษะในการใช้กระสวนประโยคที่น่ารู้ต่าง ๆ ในภาษาอังกฤษ |
|
|
|
|
การใช้คำและกระสวนประโยคภาษาอังกฤษที่น่ารู้สำหรับนักศึกษาไทย |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Words and Sentence Patterns in English Usage for Thai Students) |
ศึกษาปัญหาภาษาอังกฤษในด้านการใช้คำและกระสวนประโยคที่เป็นปัญหากับนักศึกษาไทย โดยเน้นความรู้และทักษะในการใช้กระสวนประโยคที่น่ารู้ต่าง ๆ ในภาษาอังกฤษ |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์ภาคประวัติเบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Historical Linguistics) |
ศึกษาสาเหตุการเปลี่ยนแปลงของภาษา กระบวนการเปลี่ยนแปลงของภาษาเปรียบเทียบภาษาและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงของภาษา ตลอดจนผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของภาษาในด้านเสียง คำ ประโยคความหมาย |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์ภาคประวัติเบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Historical Linguistics) |
ศึกษาสาเหตุการเปลี่ยนแปลงของภาษา กระบวนการเปลี่ยนแปลงของภาษาเปรียบเทียบภาษาและทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงของภาษา ตลอดจนผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของภาษาในด้านเสียง คำ ประโยคความหมาย |
|
|
|
|
ประวัติภาษาอังกฤษ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to History of the English Language) |
ศึกษาประวัติความเป็นมาของภาษาอังกฤษ เน้นเรื่องวิวัฒนาการของภาษาอังกฤษ ตั้งแต่สมัยแองโกลแซกซัน จนถึงปัจจุบัน ในด้านการสะกด การออกเสียง สระ พยัญชนะ การลงเสียงเน้นหนัก ระบบโครงสร้างของคำ ระบบโครงสร้างประโยค ตลอดจนวิวัฒนาการของศัพท์และความหมาย |
|
|
|
|
ประวัติภาษาอังกฤษ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to History of the English Language) |
ศึกษาประวัติความเป็นมาของภาษาอังกฤษ เน้นเรื่องวิวัฒนาการของภาษาอังกฤษ ตั้งแต่สมัยแองโกลแซกซัน จนถึงปัจจุบัน ในด้านการสะกด การออกเสียง สระ พยัญชนะ การลงเสียงเน้นหนัก ระบบโครงสร้างของคำ ระบบโครงสร้างประโยค ตลอดจนวิวัฒนาการของศัพท์และความหมาย |
|
|
|
|
หัวข้อที่น่าสนใจเกี่ยวกับไวยากรณ์อังกฤษแบบปริวรรต |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Issues in English Transformational Grammar) |
ศึกษาและวิเคราะห์ข้อโต้แย้งของนักภาษาศาสตร์กลุ่มต่าง ๆ ที่มีต่อทฤษฎีและการประยุกต์ไวยากรณ์ปริวรรต เช่น ข้อคิดเห็นของนักภาษาศาสตร์เชิงสังคม นักภาษาศาสตร์ประยุกต์ เพื่อการสอนภาษาอังกฤษ |
|
|
|
|
หัวข้อที่น่าสนใจเกี่ยวกับไวยากรณ์อังกฤษแบบปริวรรต |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Issues in English Transformational Grammar) |
ศึกษาและวิเคราะห์ข้อโต้แย้งของนักภาษาศาสตร์กลุ่มต่าง ๆ ที่มีต่อทฤษฎีและการประยุกต์ไวยากรณ์ปริวรรต เช่น ข้อคิดเห็นของนักภาษาศาสตร์เชิงสังคม นักภาษาศาสตร์ประยุกต์ เพื่อการสอนภาษาอังกฤษ |
|
|
|
|
หัวข้อที่น่าสนใจทางภาษาศาสตร์ในปัจจุบัน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Topics in Language) |
ศึกษาแนวคิดใหม่ ๆ ทางภาษาศาสตร์และปัญหาเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติต่าง ๆ โดยเน้นเฉพาะหัวข้อเรื่องที่น่าสนใจในปัจจุบัน |
|
|
|
|
หัวข้อที่น่าสนใจทางภาษาศาสตร์ในปัจจุบัน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Topics in Language) |
ศึกษาแนวคิดใหม่ ๆ ทางภาษาศาสตร์และปัญหาเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติต่าง ๆ โดยเน้นเฉพาะหัวข้อเรื่องที่น่าสนใจในปัจจุบัน |
|
|
|
|
วจีวิภาคภาษาฝรั่งเศส |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(French Mophology) |
ศึกษาคำ องค์ประกอบและหน้าที่ของคำในภาษาฝรั่งเศส (ควรเรียนกระบวนวิชา LI 210 หรือ LI 260 มาก่อน) |
|
|
|
|
วจีวิภาคภาษาฝรั่งเศส |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(French Mophology) |
ศึกษาคำ องค์ประกอบและหน้าที่ของคำในภาษาฝรั่งเศส (ควรเรียนกระบวนวิชา LI 210 หรือ LI 260 มาก่อน) |
|
|
|
|
วจนปฏิบัติศาสตร์ l |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(PRAGMATICS l) |
ศึกษาการตีความหมายของภาษาตามจุดประสงค์ของผู้พูดและผู้เขียนให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เมือฟังและอ่าน |
|
|
|
|
วจนปฏิบัติศาสตร์ l |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(PRAGMATICS l) |
ศึกษา การตีความหมายของภาษาตามจุดประสงค์ของผู้พูดและผู้เขียนให้ชัดเจนยิ่งขึ้นเมื่อฟังและอ่าน |
|
|
|
|
วจนปฏิบัติศาสตร์ l |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(PRAGMATICS l) |
ศึกษาการตีความหมายของภาษาตามจุดประสงค์ของผู้พูดและผู้เขียนให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เมือฟังและอ่าน |
|
|
|
|
วจนปฏิบัติศาสตร์ l |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(PRAGMATICS l) |
ศึกษา การตีความหมายของภาษาตามจุดประสงค์ของผู้พูดและผู้เขียนให้ชัดเจนยิ่งขึ้นเมื่อฟังและอ่าน |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์และการอ่าน 2 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Linguistics and Reading II) |
ศึกษาทฤษฎี หลักการและวิธีการทางภาษาศาสตร์ต่อเนื่องจากภาษาศาสตร์และการอ่าน 1 เพื่อนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาและส่งเสริมการอ่านในระดับสูงขึ้น |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์และการอ่าน 2 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Linguistics and Reading II) |
ศึกษาทฤษฎี หลักการและวิธีการทางภาษาศาสตร์ต่อเนื่องจากภาษาศาสตร์และการอ่าน 1 เพื่อนำมาประยุกต์ในการแก้ปัญหาและส่งเสริมการอ่านในระดับสูงขึ้น |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์และการเขียน 2 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Linguistics and writing) |
ศึกษา ภาษาศาสตร์และการเขียน |
|
|
|
|
ภาษาศาสตร์และการเขียน 2 |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Linguistics and writing) |
ศึกษา ภาษาศาสตร์และการเขียน |
|
|
|
|
การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการอ่านออกเสียง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(MISCUE ANALYSIS IN READING) |
|
|
|
|
|
การวิเคราะห์ข้อผิดพลาดในการอ่านออกเสียง |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(MISCUE ANALYSIS IN READING) |
|
|
|
|