|
|
|
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Computer for Business) |
ศึกษาความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของ Hardware และ Software อุปกรณ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานต่าง ๆ ทางด้านธุรกิจ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางไมโครคอมพิวเตอร์และการใช้งานส่วนบุคคล เช่น Word Processing ฐานข้อมูลเบื้องต้นและโปรแกรมประยุกต์เฉพาะงาน |
|
|
|
|
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Computer for Business) |
ศึกษาความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของ Hardware และ Software อุปกรณ์ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานต่าง ๆ ทางด้านธุรกิจ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารงานข้อมูล ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางไมโครคอมพิวเตอร์และการใช้งานส่วนบุคคล เช่น Word Processing ฐานข้อมูลเบื้องต้นและโปรแกรมประยุกต์เฉพาะงาน |
|
|
|
|
ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(introduction to computer) |
ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
|
|
|
|
ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(introduction to computer) |
ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
|
|
|
|
ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(INTRODUCTION TO COMPUTERSYSEMS) |
ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
|
|
|
|
ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(INTRODUCTION TO COMPUTERSYSEMS) |
ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
|
|
|
|
ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Computer Systems) |
- |
|
|
|
|
ระบบคอมพิวเตอร์เบื้องต้น |
- |
หน่วย |
|
|
|
(Introduction to Computer Systems) |
- |
|
|
|
|
การเขียนโปรแกรมเพื่อใช้งาน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Programming for Applications ( PR : ควรเรียน IT 105 มาก่อน )) |
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างอัลกอริธึมเพื่อแก้ปัญหา การออกแบบอัลกอริธึมและรูปแบบต่าง ๆ ของโครงสร้างคำสั่งที่จำเป็นสำหรับการเขียนอัลกอริธึม การใช้ประเภทข้อมูล (data type) แบบต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาไวยากรณ์ของภาษาโปรแกรมขั้นสูง เช่น ภาษาปาสคาล การเขียนโปแกรมจากอัลตราไวโอเลต กานใช้เครื่อมือช่วยออกแบบโปรแกรมเช่นแผนผังการทำงาน (flow-chart) วิธีการออกแบบชนิดบนลงล่าง และการจำแนกโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อย (program decomposition) การเขียนโปรแกรมแบบมีโครงสร้าง (structured program) คุณสมบัติที่ควรมีของโปรแกรมที่ดี ตลอดถึงการใช้รูปแบบโปรแกรมที่ทำให้อ่านง่าย และการเขียนหมายเหตุ (comment) ในโปรแกรม เนื้อหาวิชาจะเน้นในการฝึกหัดเขียนโปรแกรมจริงให้นักศึกษาเกิดทักษะในระดับที่สามารถสร้างโปรแกรม ตรวจสอบความถูกต้องและแก้ไขความผิดพลาดในโปรแกรมระดับเบื้องต้นสำหรับงานในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น งานธุรกิจ งานคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ฯลฯ |
|
|
|
|
การเขียนโปรแกรมเพื่อใช้งาน |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Programming for Applications ( PR : ควรเรียน IT 105 มาก่อน )) |
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างอัลกอริธึมเพื่อแก้ปัญหา การออกแบบอัลกอริธึมและรูปแบบต่าง ๆ ของโครงสร้างคำสั่งที่จำเป็นสำหรับการเขียนอัลกอริธึม การใช้ประเภทข้อมูล (data type) แบบต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาไวยากรณ์ของภาษาโปรแกรมขั้นสูง เช่น ภาษาปาสคาล การเขียนโปแกรมจากอัลตราไวโอเลต กานใช้เครื่อมือช่วยออกแบบโปรแกรมเช่นแผนผังการทำงาน (flow-chart) วิธีการออกแบบชนิดบนลงล่าง และการจำแนกโปรแกรมออกเป็นส่วนย่อย (program decomposition) การเขียนโปรแกรมแบบมีโครงสร้าง (structured program) คุณสมบัติที่ควรมีของโปรแกรมที่ดี ตลอดถึงการใช้รูปแบบโปรแกรมที่ทำให้อ่านง่าย และการเขียนหมายเหตุ (comment) ในโปรแกรม เนื้อหาวิชาจะเน้นในการฝึกหัดเขียนโปรแกรมจริงให้นักศึกษาเกิดทักษะในระดับที่สามารถสร้างโปรแกรม ตรวจสอบความถูกต้องและแก้ไขความผิดพลาดในโปรแกรมระดับเบื้องต้นสำหรับงานในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น งานธุรกิจ งานคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ฯลฯ |
|
|
|
|
การเขียนโปรแกรมขั้นสูงและโครงสร้างข้อมูล |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Advanced Programming and Information Structures ) |
|
|
|
|
|
การเขียนโปรแกรมขั้นสูงและโครงสร้างข้อมูล |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(Advanced Programming and Information Structures ) |
|
|
|
|
|
|
|
|
(COBOL Programming ( PR : ควรเรียน IT 203 มาก่อน )) |
ศึกษาโครงสร้างของภาษาโคบอลและพื้นฐานความสามารถของภาษาโคบอล ซึ่งจุดมุ่งหมายของวิชานี้ คือ การให้ความรู้แก่นักศึกษามากพอที่จะเข้าใจและสามารถเขียนโปรแกรมต่าง ๆ ในภาษาโคบอล |
|
|
|
|
|
|
|
(COBOL Programming ( PR : ควรเรียน IT 203 มาก่อน )) |
ศึกษาโครงสร้างของภาษาโคบอลและพื้นฐานความสามารถของภาษาโคบอล ซึ่งจุดมุ่งหมายของวิชานี้ คือ การให้ความรู้แก่นักศึกษามากพอที่จะเข้าใจและสามารถเขียนโปรแกรมต่าง ๆ ในภาษาโคบอล |
|
|
|
|
|
|
|
(RPG Programming ( PR : ควรเรียน IT 203 มาก่อน )) |
ศึกษาโครงสร้างของภาษาอาร์พีจี พร้อมทั้งวิธีการเขียนโปรแกรมวงจรการทำงานของภาษาอาร์พีจี เทคนิคชั้นสูง ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมในงานต่าง ๆ |
|
|
|
|
|
|
|
(RPG Programming ( PR : ควรเรียน IT 203 มาก่อน )) |
ศึกษาโครงสร้างของภาษาอาร์พีจี พร้อมทั้งวิธีการเขียนโปรแกรมวงจรการทำงานของภาษาอาร์พีจี เทคนิคชั้นสูง ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมในงานต่าง ๆ |
|
|
|
|
|
|
|
(Pascal Programming) |
ศึกษาโครงสร้างของภาษาปาสคาล กฎ และรูปแบบในการเขียนโปรแกรม ประโยชน์และประเภทของงานที่เหมาะสมกับภาษาปาสคาล |
|
|
|
|
|
|
|
(Pascal Programming) |
ศึกษาโครงสร้างของภาษาปาสคาล กฎ และรูปแบบในการเขียนโปรแกรม ประโยชน์และประเภทของงานที่เหมาะสมกับภาษาปาสคาล |
|
|
|
|
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(PEACTOR PHYSICS) |
ศึกษา องค์ประกอบต่างๆของภาษาโปรแกรม กฏวากยสัมพันธ์ ความหมาย วิธีการแก้ปัญหา ตัวอย่าง |
|
|
|
|
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล |
3 |
หน่วย |
|
|
|
(PEACTOR PHYSICS) |
ศึกษา องค์ประกอบต่างๆของภาษาโปรแกรม กฏวากยสัมพันธ์ ความหมาย วิธีการแก้ปัญหา ตัวอย่าง |
|
|
|
|
|
|
|
(C Programming ( PR : ควรเรียน IT 203 มาก่อน )) |
ศึกษาลักษณะทั่วไปและลักษณะจำเพาะของภาษาซีและธรรมชาติที่แตกต่างจากภาษาอื่น ลักษณะของตัวแหรา ตัวดำเนินการ นิพจน์และการทำงานในลักษณะโปรแกรมโครงสร้าง การสร้างและเรียกใช้พังก์ชัน การสร้างแฟ้มและเข้าถึงแฟ้มการทำงานในระบบยูนิกซ์ |
|
|
|
|
|
|
|
(C Programming ( PR : ควรเรียน IT 203 มาก่อน )) |
ศึกษาลักษณะทั่วไปและลักษณะจำเพาะของภาษาซีและธรรมชาติที่แตกต่างจากภาษาอื่น ลักษณะของตัวแหรา ตัวดำเนินการ นิพจน์และการทำงานในลักษณะโปรแกรมโครงสร้าง การสร้างและเรียกใช้พังก์ชัน การสร้างแฟ้มและเข้าถึงแฟ้มการทำงานในระบบยูนิกซ์ |
|
|
|
|
|
|
|
(BASIC Programming ( PR : ควรเรียน IT 203 มาก่อน )) |
ศึกษาโครงสร้างของภาษาเบสิกพร้อมทั้งการแก้ปัญหาต่าง ๆ การจัดการข้อมูล |
|
|
|
|
|
|
|
(BASIC Programming ( PR : ควรเรียน IT 203 มาก่อน )) |
ศึกษาโครงสร้างของภาษาเบสิกพร้อมทั้งการแก้ปัญหาต่าง ๆ การจัดการข้อมูล |
|
|
|