จากคำจำกัดความนี้เอง
ทำให้นักมานุษยวิทยาอเมริกันได้ใช้เป็นแนวทางในการศึกษาวัฒนธรรม
โดยจะมอง "ลักษณะรวมทั้งหมดหรือมองวัฒนธรรมในทุกแง่"
(complex whole or configuration of learned behavior)
ซึ่งเป็นสิ่งที่ได้รับมาจากการเรียนรู้
มิใช่ได้รับมาโดยพันธุกรรมหรือเป็นลักษณะตามธรรมชาติ
นักมานุษยวิทยาวัฒนธรรมแบ่งสาขาวิชานี้ออกตามแผนภูมิดังนี้
มานุษยวิทยา
มานุษยวิทยากายภาพ
มานุษยวิทยาวัฒนธรรม
- โบราณคดี
- มานุษยวิทยาภาษาศาสตร์
- มานุษยวิทยาสังคม
- ชาติพันธุ์วิทยา
- ชาติพันธุ์วรรณา
|