บทที่15  นักมานุษยวิทยาและผลงาน  >> หน้า 13

 

เชิงอรรถในบทที่ 15

                1พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระราชนิพนธ์ไกลบ้าน.  เล่ม 1 และเล่ม 2 (กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา, 2516);  สุจิตต์ วงษ์เทศ, ร้องรำทำเพลง : ดนตรีและนาฏศิลป์ชาวสยาม.  ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ (กรุงเทพฯ : มติชน, 2532); สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, ประมวลพระราชนิพนธ์ประวัติศาสตร์ - โบราณคดี.  (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2514);  ปริญญาณภิกขุ, ประเพณีโบราณไทยอิสาน.  (อุบลราชธานี : ศิริธรรม, 2525);  ล้านนาไทย.  อนุสรณ์พระราชพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์ เชียงใหม่ พ.ศ. 2526 - 2527 (เชียงใหม่ : ทิพยเนตร, 2527);  มณี พยอมยงค์, ประเพณีสิบสองเดือนล้านนาไทย.  (เชียงใหม่ : ส.ทรัพย์การพิมพ์, 2529);  สารบรรณโลกและเงินตรานานาชาติ : ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ.  (กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดบางกอก

บล๊อก, 2521).

                2สุเทพ  สุนทรเภสัช,  "คุณค่าผลงานของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธนต่อวงการมานุษยวิทยาในประเทศไทย," การบรรยายทางวิชาการเรื่อง ศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธนกับการสืบทอดวัฒนธรรมไทย. ในโอกาสครบรอบ 100 ปีของศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน ระหว่างวันที่ 4 - 7 ตุลาคม พ.ศ. 2531 ที่คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง พิมพ์เผยแพร่ในเอกสารวันมนุษยศาสตร์ 28 กันยายน พ.ศ. 2534.

                3สุลักษณ์  ศิวรักษ์,  "การสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมของพระยาอนุมานราชธน," ในการบรรยายทางวิชาการ ดังเชิงอรรถ (2) เพิ่งอ้าง.